โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อีอินจวา

ดัชนี อีอินจวา

อีอินจวา (Yi In-Jwa: 1694 – 1728) ขุนนางชาวเกาหลีและกบฏที่ฉลาดหลักแหลมรวมถึงเจ้าเล่ห์ที่สุดในยุค ราชวงศ์โชซ็อน อีอินจวาเกิดเมื่อ..

12 ความสัมพันธ์: ช็อน กวัง-รย็อลพระนางโซฮ็อนพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าคย็องจงแห่งโชซ็อนพระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนพระเจ้าเซจงมหาราชกลุ่มโซรนกลุ่มโนรนราชวงศ์โชซ็อนเอสบีเอสเจ้าชายโซฮยอน มกุฎราชกุมารแห่งโชซอนเดิมพันบัลลังก์เดือด

ช็อน กวัง-รย็อล

็อน กวัง-รย็อล (Jun Kwang-ryul) เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อีอินจวาและช็อน กวัง-รย็อล · ดูเพิ่มเติม »

พระนางโซฮ็อน

ระมเหสีโซฮ็อน สกุลซิม แห่งช็องซง (Queen Soheon, 12 ตุลาคม พ.ศ. 1938 – 19 เมษายน พ.ศ. 1989) พระนางเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเซจงมหาราช กษัตริย์ลำดับที่ 4 และเป็นพระพันปีหลวงในพระราชาถึง 2 พระองค์คือ พระเจ้ามุนจง พระราชาลำดับที่ 5 และพระเจ้าเซโจ พระราชาลำดับที่ 7 พระนางโซฮ็อนประสูติเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: อีอินจวาและพระนางโซฮ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าย็องโจ (ค.ศ. 1694 - ค.ศ. 1776) ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 21 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1724 - ค.ศ. 1776) พระเจ้าย็องโจทรงปฏิรูปการปกครองบ้านเมืองหลายประการ ทรงเป็นหนึ่งในกษัตริย์ที่ได้รับยกย่องที่สุดแห่งราชวงศ์โชซ็อน คู่กับพระนัดดา คือ พระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน พระเจ้าย็องโจทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวที่สุดของราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: อีอินจวาและพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคย็องจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้าคย็องจง (ค.ศ. 1688 — ค.ศ. 1724) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 20 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1720 - ค.ศ. 1724) พระเจ้าคย็องจง พระนามว่า อี ยุน ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: อีอินจวาและพระเจ้าคย็องจงแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้าซุกจง (ค.ศ. 1661 - ค.ศ. 1720) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 19 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1674 - ค.ศ. 1720) พระเจ้าซุกจงประสูติเมื่อ ค.ศ. 1661 เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฮย็อนจง กับพระมเหสีมยองซอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นองค์ชายรัชทายาทเมื่อ ค.ศ. 1667 ต่อมาเมื่อ ค.ศ. 1674 พระนางอินซอน พระมเหสีของพระเจ้าฮโยจง สิ้นพระชนม์ จึงเกิดข้อถกเถียงกันเรื่องการใส่พระภูษาไว้ทุกข์ของพระนางจางรยอล พระมเหสีของพระเจ้าอินโจ ขึ้นอีกครั้ง เรียกว่า ความขัดแย้งเรื่องพิธีปีคาบิน (갑인예송, 甲寅禮訟) พระเจ้าฮย็อนจงทรงเลือกที่จะทำตามข้อเสนอของขุนนางฝ่ายใต้ นำโดยฮอมก (허목, 許穆) ซึ่งเสนอให้นางจางรยอลไว้ทุกข์แบบแทกง (대공, 大功 9 เดือน พระภูษาหยาบ) ทำให้ฝ่ายใต้ขึ้นมามีอำนาจแทนฝ่ายตะวันตก ซึ่งมีอำนาจอยู่ก่อนหน้า ในปีเดียวกันนั้น พระเจ้าฮย็อนจงสวรรคต พระเจ้าซุกจงจึงทรงขึ้นครองราชย์ในช่วงเวลาที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ รัชกาลของพระเจ้าซุกจงเป็นสมัยที่ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายต่างๆของขุนนางดุเดือดที่สุด เรียกได้ว่าไม่มีเลยสักวันเดียวในรัชสมัยของพระองค์ที่จะปราศจากการทุ่มเถียงระหว่างฝ่ายใต้และฝ่ายตะวันตก ขณะที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ ฝ่ายตะวันตกก็ถูกกีดกันออกจากราชการกันเป็นส่วนใหญ่ แต่แล้วเมื่อ..

ใหม่!!: อีอินจวาและพระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซจงมหาราช

ระเจ้าเซจงมหาราช (พ.ศ. 1940 ถึง พ.ศ. 1993) เป็นพระมหากษัตริย์เกาหลีรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์โชซ็อน ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1961 ถึง..

ใหม่!!: อีอินจวาและพระเจ้าเซจงมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโซรน

กลุ่มโซรน (Soron Faction) กลุ่มการเมืองกลุ่มสำคัญในสมัย ราชวงศ์โชซ็อน ที่แยกออกมาจาก ฝ่ายตะวันตก โดยกลุ่มโซรนเป็นกลุ่มการเมืองที่เป็นขั้วตรงข้ามกับ กลุ่มโนนน ที่แตกออกมาจากฝ่ายตะวันตกเช่นเดียวกันเนื่องจากกลุ่มโซรนเป็นฝ่ายหัวก้าวหน้าขณะที่กลุ่มโนนนเป็นฝ่าย อนุรักษ์นิยม ซึ่งกลุ่มโซรนได้ให้การสนับสนุน พระสนมฮีบิน จากตระกูลจาง พระสนมเอกใน พระเจ้าซุกจง และพระโอรสของพระนางคือ องค์ชายลียุน ต่อมาเมื่อองค์ชายลียุนขึ้นสืบ ราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์ เป็น พระเจ้าคย็องจง ทำให้กลุ่มโซนนได้ก้าวเข้ามามีอำนาจในราชสำนักเหนือกลุ่มโนนนแต่กลับเกิดการพลิกผันเมื่อพระเจ้าคย็องจงสวรรคตโดยไร้รัชทายาทเมื่อปี ค.ศ. 1724 องค์ชายลีกึม ที่ วังเซเจ (พระราชอนุชารัชทายาท) พระราชอนุชาที่ประสูติแต่ พระสนมซุกบิน จากตระกูลชเว ที่กลุ่มโนนนให้การสนับสนุนขึ้นสืบราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์เป็น พระเจ้ายองโจ ทำให้กลุ่มโซนนแทบจะหมดอำนาจทางการเมือง หมวดหมู่:ราชวงศ์โชซ็อน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เกาหลี.

ใหม่!!: อีอินจวาและกลุ่มโซรน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโนรน

กลุ่มโนรน (Noron) กลุ่มการเมืองสำคัญในสมัย ราชวงศ์โชซ็อน ที่สนับสนุน ซง ชี-ย็อล ภายหลังการแยกตัวออกมาจาก ฝ่ายตะวันตก ซึ่งกลุ่มโนรนเป็นกลุ่มการเมืองที่มีแนวความคิดแบบ อนุรักษ์นิยม โดยกลุ่มโนรนเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงเมื่อ คิม ซ็อก-จู หนึ่งในแกนนำกลุ่มโนรนถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1684 และการประหารชีวิตซงซียอลในปี ค.ศ. 1689 ต่อมาในปี ค.ศ. 1701 พระมเหสีอินฮยอน พระมเหสีของ พระเจ้าซุกจง ที่ทางฝ่ายตะวันตกและกลุ่มโนรนให้การสนับสนุนสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหันทำให้กลุ่มโนรนแทบจะหมดอำนาจทางการเมืองในราชสำนักจนกระทั่งในปี ค.ศ. 1724 องค์ชายลีกึม พระราชโอรสของพระเจ้าซุกจงที่ประสูติแต่ พระสนมซุกบิน พระสนมเอกที่กลุ่มโนรนให้การสนับสนุนได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็น พระเจ้ายองโจ ทำให้กลุ่มโนรนกลับมามีอำนาจอีกครั้ง.

ใหม่!!: อีอินจวาและกลุ่มโนรน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อีอินจวาและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

เอสบีเอส

นีโทรทัศน์เอสบีเอส (Seoul Broadcasting System, SBS) เครือข่ายสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ใน ประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: อีอินจวาและเอสบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโซฮยอน มกุฎราชกุมารแห่งโชซอน

องค์ชายรัชทายาทโซฮยอน (소현세자, 昭顯世子, 1612-1645) เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้าอินโจกับพระมเหสีอินรยอล ตระกูลฮัน องค์ชายโซฮยอนถูกส่งไปเป็นองค์ประกันของราชวงศ์ชิงที่เสิ่นหยางตามข้อตกลงหลังสิ้นสุดสงครามในปี..1636 และเมื่อราชวงศ์ชิงยึดเมืองหลวงของราชวงศ์หมิงได้แล้วจึงย้ายไปอยู่ที่ปักกิ่งใน..1644 และมีการติดต่อกับ จอห์น อดัม อยู่เสมอ และทรงสิ้นพระชนม์ใน..1645 หลังจากนิวัติกลับโชซอนได้ไม่นาน.

ใหม่!!: อีอินจวาและเจ้าชายโซฮยอน มกุฎราชกุมารแห่งโชซอน · ดูเพิ่มเติม »

เดิมพันบัลลังก์เดือด

มพันบัลลังก์เดือด (อังกฤษ: The Royal Gambler, Jackpot) เป็นละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศในประเทศเกาหลีใต้ช่วงปี ค.ศ. 2016 กล่าวถึงประวัติของ แพค แท-กิน เจ้าชายองค์หนึ่งของราชวงศ์โชซ็อน ออกอากาศในประเทศไทยทางช่อง 3 แฟมิลี่ ตั้งแต่วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 19:00 น. - 20:00 น. นำแสดงโดย ชัง กึน-ซ็อก, ยอ จิน-กู, ช็อน กวัง-รย็อล, ชอย มิน-ซู, ยุน จิน-ซอ, ลิม จี-ยอน, ลี ฮยอน-วู.

ใหม่!!: อีอินจวาและเดิมพันบัลลังก์เดือด · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »