โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มโซรน

ดัชนี กลุ่มโซรน

กลุ่มโซรน (Soron Faction) กลุ่มการเมืองกลุ่มสำคัญในสมัย ราชวงศ์โชซ็อน ที่แยกออกมาจาก ฝ่ายตะวันตก โดยกลุ่มโซรนเป็นกลุ่มการเมืองที่เป็นขั้วตรงข้ามกับ กลุ่มโนนน ที่แตกออกมาจากฝ่ายตะวันตกเช่นเดียวกันเนื่องจากกลุ่มโซรนเป็นฝ่ายหัวก้าวหน้าขณะที่กลุ่มโนนนเป็นฝ่าย อนุรักษ์นิยม ซึ่งกลุ่มโซรนได้ให้การสนับสนุน พระสนมฮีบิน จากตระกูลจาง พระสนมเอกใน พระเจ้าซุกจง และพระโอรสของพระนางคือ องค์ชายลียุน ต่อมาเมื่อองค์ชายลียุนขึ้นสืบ ราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์ เป็น พระเจ้าคย็องจง ทำให้กลุ่มโซนนได้ก้าวเข้ามามีอำนาจในราชสำนักเหนือกลุ่มโนนนแต่กลับเกิดการพลิกผันเมื่อพระเจ้าคย็องจงสวรรคตโดยไร้รัชทายาทเมื่อปี ค.ศ. 1724 องค์ชายลีกึม ที่ วังเซเจ (พระราชอนุชารัชทายาท) พระราชอนุชาที่ประสูติแต่ พระสนมซุกบิน จากตระกูลชเว ที่กลุ่มโนนนให้การสนับสนุนขึ้นสืบราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์เป็น พระเจ้ายองโจ ทำให้กลุ่มโซนนแทบจะหมดอำนาจทางการเมือง หมวดหมู่:ราชวงศ์โชซ็อน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เกาหลี.

11 ความสัมพันธ์: ชัง ฮี-บินพ.ศ. 2267พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าคย็องจงพระเจ้าซุกจงกลุ่มโนรนฝ่ายตะวันตกราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์ราชวงศ์โชซ็อนอนุรักษนิยมซุกบินแห่งตระกูลชเว

ชัง ฮี-บิน

ัง ฮี-บิน (Jang Hui-bin; ค.ศ. 1659–ค.ศ. 1701) เป็นสนมในพระเจ้าซุกจง พระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรโชซ็อน ต่อมาได้รับการเลื่อนเป็นอัครมเหสีที่ตำแหน่งพระราชินี แต่ภายหลังถูกถอดเป็นสนมเช่นเดิมและถูกประหารชีวิต เรื่องราวของพระองค์ได้รับการดัดแปลงและนำเสนอในละครและภาพยนตร์หลายครั้ง.

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและชัง ฮี-บิน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2267

ทธศักราช 2267 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและพ.ศ. 2267 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าย็องโจ (ค.ศ. 1694 - ค.ศ. 1776) ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 21 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1724 - ค.ศ. 1776) พระเจ้าย็องโจทรงปฏิรูปการปกครองบ้านเมืองหลายประการ ทรงเป็นหนึ่งในกษัตริย์ที่ได้รับยกย่องที่สุดแห่งราชวงศ์โชซ็อน คู่กับพระนัดดา คือ พระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน พระเจ้าย็องโจทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวที่สุดของราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคย็องจง

ระเจ้าคย็องจง (Gyeongjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและพระเจ้าคย็องจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซุกจง

ระเจ้าซุกจง (ค.ศ. 1661 - ค.ศ. 1720) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 19 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1674 - ค.ศ. 1720) พระเจ้าซุกจงประสูติเมื่อ ค.ศ. 1661 เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฮย็อนจง กับพระมเหสีมยองซอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นองค์ชายรัชทายาทเมื่อ ค.ศ. 1667 ต่อมาเมื่อ ค.ศ. 1674 พระนางอินซอน พระมเหสีของพระเจ้าฮโยจง สิ้นพระชนม์ จึงเกิดข้อถกเถียงกันเรื่องการใส่พระภูษาไว้ทุกข์ของพระนางจางรยอล พระมเหสีของพระเจ้าอินโจ ขึ้นอีกครั้ง เรียกว่า ความขัดแย้งเรื่องพิธีปีคาบิน (갑인예송, 甲寅禮訟) พระเจ้าฮย็อนจงทรงเลือกที่จะทำตามข้อเสนอของขุนนางฝ่ายใต้ นำโดยฮอมก (허목, 許穆) ซึ่งเสนอให้นางจางรยอลไว้ทุกข์แบบแทกง (대공, 大功 9 เดือน พระภูษาหยาบ) ทำให้ฝ่ายใต้ขึ้นมามีอำนาจแทนฝ่ายตะวันตก ซึ่งมีอำนาจอยู่ก่อนหน้า ในปีเดียวกันนั้น พระเจ้าฮย็อนจงสวรรคต พระเจ้าซุกจงจึงทรงขึ้นครองราชย์ในช่วงเวลาที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ รัชกาลของพระเจ้าซุกจงเป็นสมัยที่ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายต่างๆของขุนนางดุเดือดที่สุด เรียกได้ว่าไม่มีเลยสักวันเดียวในรัชสมัยของพระองค์ที่จะปราศจากการทุ่มเถียงระหว่างฝ่ายใต้และฝ่ายตะวันตก ขณะที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ ฝ่ายตะวันตกก็ถูกกีดกันออกจากราชการกันเป็นส่วนใหญ่ แต่แล้วเมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและพระเจ้าซุกจง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโนรน

กลุ่มโนรน (Noron) กลุ่มการเมืองสำคัญในสมัย ราชวงศ์โชซ็อน ที่สนับสนุน ซง ชี-ย็อล ภายหลังการแยกตัวออกมาจาก ฝ่ายตะวันตก ซึ่งกลุ่มโนรนเป็นกลุ่มการเมืองที่มีแนวความคิดแบบ อนุรักษ์นิยม โดยกลุ่มโนรนเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงเมื่อ คิม ซ็อก-จู หนึ่งในแกนนำกลุ่มโนรนถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1684 และการประหารชีวิตซงซียอลในปี ค.ศ. 1689 ต่อมาในปี ค.ศ. 1701 พระมเหสีอินฮยอน พระมเหสีของ พระเจ้าซุกจง ที่ทางฝ่ายตะวันตกและกลุ่มโนรนให้การสนับสนุนสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหันทำให้กลุ่มโนรนแทบจะหมดอำนาจทางการเมืองในราชสำนักจนกระทั่งในปี ค.ศ. 1724 องค์ชายลีกึม พระราชโอรสของพระเจ้าซุกจงที่ประสูติแต่ พระสนมซุกบิน พระสนมเอกที่กลุ่มโนรนให้การสนับสนุนได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็น พระเจ้ายองโจ ทำให้กลุ่มโนรนกลับมามีอำนาจอีกครั้ง.

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและกลุ่มโนรน · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายตะวันตก

ฝ่ายตะวันตก (Seoin) กลุ่มขุนนางที่มีบทบาทและอิทธิพลในราชสำนัก โชซอน ช่วงปลายศตวรรษที่ 16 เช่นเดียวกับ ฝ่ายตะวันออก โดยมี ซิมอึยกยอม เป็นหัวหน้ากลุ่มซึ่งฝ่ายตะวันตกนั้นแยกตัวออกมาจาก กลุ่มซาริม กลุ่มขุนนางที่มีบทบาทสำคัญในช่วงการก่อตั้ง ราชวงศ์โชซอน โดยที่มาของชื่อฝ่ายตะวันตกนั้นมีที่มาจากที่พำนักของซิมอึยกยอมซึ่งตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของ ฮันยาง หรือ โซล ในปัจจุบัน ฝ่ายตะวันตกได้เริ่มมีบทบาทสำคัญในคราวรัฐประหารโค่นล้มราชบัลลังก์ของ องค์ชายควางแฮกุน หมวดหมู่:ราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและฝ่ายตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์

ราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์ในพระราชวังคยองบกกุง พระเจ้าโกจงบนราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์ ราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์ (Eojwa) ราชบัลลังก์ของกษัตริย์เกาหลีในสมัย ราชวงศ์โชซ็อน เวลาเสด็จออกว่าราชการร่วมกับขุนนางใน พระราชวังคยองบกกุง หมวดหมู่:ราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและราชบัลลังก์นกฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

อนุรักษนิยม

อนุรักษนิยม หรือ คติอนุรักษ์ (conservatism), โดยทั่วไปหมายถึงปรัชญาทางการเมืองที่ยึดถือเอาสิ่งดีงามในอดีตมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานในปัจจุบัน โดยนิยมการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป และส่วนใหญ่จะอยู่ตรงข้ามกับแนวคิดเสรีนิยม แนวอนุรักษนิยมทางการเมืองสมัยใหม่เริ่มต้นขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติอุตสาหกรรม อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง พรรคการเมืองที่มีแนวคิดอนุรักษนิยมจัดเป็นพรรคอนุรักษนิยม.

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและอนุรักษนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ซุกบินแห่งตระกูลชเว

ระนางฮวากย็อง ซุกบิน สกุลชเว (Lady Hwagyeong, Royal Noble Consort Suk of the Choi clan; ฮันกึล: 숙빈 최씨; ฮันจา: 和瓊淑嬪 崔氏; ค.ศ. 1670–ค.ศ. 1718) พระนามเดิมว่า ชเว ทงอี (ฮันกึล: 최동이; ฮันจา: 崔同伊) เป็นพระสนมเอกในพระเจ้าซุกจง เรื่องราวของพระองค์ได้รับการนำมาทำเป็นละครเรื่อง ทงอี จอมนางคู่บัลลังก์ (Dong Yi).

ใหม่!!: กลุ่มโซรนและซุกบินแห่งตระกูลชเว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กลุ่มโซนนโซนน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »