เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อำเภอไทรน้อย

ดัชนี อำเภอไทรน้อย

ทรน้อย เป็นอำเภอที่จัดตั้งขึ้นล่าสุด รวมทั้งมีพื้นที่มากที่สุดและมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดในจังหวัดนนทบุรี สภาพพื้นที่ทั่วไปยังคงสภาพชนบทไว้ เช่น ท้องนา ท้องไร่ บ้านเรือนแบบเรียบง่าย แต่มีระบบสาธารณูปโภคชั้นสูง เช่น โรงไฟฟ้า บ่อขยะ คลองชลประทาน และยังพบวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวนนทบุรีอีกด้วย อำเภอไทรน้อยเป็นจุดเชื่อมต่อที่สำคัญระหว่างจังหวัดนนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา และสุพรรณบุรี.

สารบัญ

  1. 44 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2420พ.ศ. 2423พ.ศ. 2433พ.ศ. 2442พ.ศ. 2443พ.ศ. 2444พ.ศ. 2483พ.ศ. 2486พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2499พ.ศ. 2502พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมณฑลเทศาภิบาลสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยหมู่บ้านอำเภอบางบัวทองอำเภอบางใหญ่อำเภอบางเลนอำเภอพุทธมณฑลอำเภอลาดบัวหลวงอำเภอลาดหลุมแก้วอำเภอปากเกร็ดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดธนบุรีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครปฐมจังหวัดนนทบุรีถนนถนนบางกรวย-ไทรน้อยถนนบ้านกล้วย-ไทรน้อยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346คลองทวีวัฒนาตำบลแม่น้ำท่าจีนแม่น้ำเจ้าพระยาเทศบาลตำบลไทรน้อยเขตการปกครองของประเทศไทย1 มกราคม6 มิถุนายน

พ.ศ. 2420

ทธศักราช 2420 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1877.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2420

พ.ศ. 2423

ทธศักราช 2423 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1880.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2423

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2433

พ.ศ. 2442

ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2442

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2443

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2444

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2486

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2491

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2499

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2502

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2522

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อำเภอไทรน้อยและพ.ศ. 2523

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู อำเภอไทรน้อยและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ.

ดู อำเภอไทรน้อยและมณฑลเทศาภิบาล

สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย

อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.

ดู อำเภอไทรน้อยและสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ดู อำเภอไทรน้อยและหมู่บ้าน

อำเภอบางบัวทอง

งบัวทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างใหญ่มากโดยคลุมพื้นที่อำเภอไทรน้อย อำเภอบางใหญ่ และบางส่วนของอำเภอปากเกร็ด (ปัจจุบันแยกออกไปแล้ว) มีประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ.

ดู อำเภอไทรน้อยและอำเภอบางบัวทอง

อำเภอบางใหญ่

งใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี มีประชากรค่อนข้างมาก แต่เดิมตั้งอยู่บริเวณที่คลองสามสายมาบรรจบกันได้แก่ ปลายคลองอ้อมนนท์ สุดคลองบางกอกน้อย และต้นคลองบางใหญ่ แต่ปัจจุบันตัวอำเภอได้ย้ายมาอยู่ในหมู่บ้านบางใหญ่ซิตี้ ซึ่งได้รับความเจริญอย่างรวดเร็วจากการก่อสร้างถนนกาญจนาภิเษกและถนนรัตนาธิเบศร์ มีบริการที่ทันสมัย เช่น โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า ตลาดกลางของจังหวัด หน่วยงานราชการ หมู่บ้านจัดสรรที่เกิดใหม่ ดังนั้น พื้นที่การเกษตรอาจไม่พบเห็นในเขตเมืองแล้ว โดยส่วนหนึ่งของเขตเมืองบางใหญ่อยู่ในพื้นที่ของอำเภอบางบัวทอง.

ดู อำเภอไทรน้อยและอำเภอบางใหญ่

อำเภอบางเลน

อำเภอบางเลน เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดนครปฐม.

ดู อำเภอไทรน้อยและอำเภอบางเลน

อำเภอพุทธมณฑล

อำเภอพุทธมณฑล เป็นอำเภอที่ตั้งขึ้นใหม่ที่สุดและมีพื้นที่น้อยที่สุดในจังหวัดนครปฐม.

ดู อำเภอไทรน้อยและอำเภอพุทธมณฑล

อำเภอลาดบัวหลวง

ลาดบัวหลวง เป็นอำเภอหนึ่งใน 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอ.

ดู อำเภอไทรน้อยและอำเภอลาดบัวหลวง

อำเภอลาดหลุมแก้ว

ลาดหลุมแก้ว เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี.

ดู อำเภอไทรน้อยและอำเภอลาดหลุมแก้ว

อำเภอปากเกร็ด

ปากเกร็ด เป็นเป็นอำเภอที่มีตำบลมากที่สุดในจังหวัดนนทบุรี ที่ตั้งมีแม่น้ำเจ้าพระยาตัดผ่านตัวอำเภอ สภาพพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้ต่าง ๆ ไร่นา ท้องทุ่ง ปศุสัตว์ ดังเช่นในชนบท ส่วนทางฝั่งตะวันออกมีที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และยังเป็นที่ตั้งหน่วยงานราชการส่วนกลางของประเทศ ในอดีตอำเภอปากเกร็ดเคยขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ช่วงหนึ่ง และบางตำบลเคยอยู่ในอำเภอบางบัวทอง.

ดู อำเภอไทรน้อยและอำเภอปากเกร็ด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ดู อำเภอไทรน้อยและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ดู อำเภอไทรน้อยและจังหวัดสุพรรณบุรี

จังหวัดธนบุรี

ตราประจำจังหวัดธนบุรี จังหวัดธนบุรี เป็นจังหวัดในอดีตที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับจังหวัดพระนคร ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี จนกระทั่ง พ.ศ.

ดู อำเภอไทรน้อยและจังหวัดธนบุรี

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ดู อำเภอไทรน้อยและจังหวัดปทุมธานี

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ดู อำเภอไทรน้อยและจังหวัดนครปฐม

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู อำเภอไทรน้อยและจังหวัดนนทบุรี

ถนน

นน เป็นทางสัญจรทางบกระหว่างสถานที่สองแห่ง ที่ได้รับการปูพื้นผิว หรือได้รับการปรับปรุงเพื่อให้การเดินทางทางเท้าหรือยานพาหนะต่าง ๆ รวมถึงม้า เกวียน จักรยาน และยานยนต์ ถนนประกอบด้วยหนึ่งหรือสองช่องทาง ได้แก่ ทิศเดียวกัน กับทิศสวนทางกัน โดยแต่ละฝั่งมีช่องจราจรตั้งแต่หนึ่งช่องขึ้นไป และบางครั้งอาจมีทางเท้า ถนนที่สร้างขึ้นเพื่อส่วนรวมอาจเรียกว่าถนนสาธาณะ หรือทางหลวง.

ดู อำเภอไทรน้อยและถนน

ถนนบางกรวย-ไทรน้อย

นนบางกรวย-ไทรน้อย (Thanon Bang Kruai - Sai Noi) ประกอบด้วยเส้นทางที่มีชื่อซ้ำกันสองสาย สายแรกคือถนนบางกรวย-ไทรน้อยสายหลัก ซึ่งระยะทางส่วนใหญ่ของถนนได้รับการกำหนดให้เป็น "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215" เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่งบนพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาในจังหวัดนนทบุรี เนื่องจากตัดผ่านเกือบทุกอำเภอของจังหวัด ได้แก่ อำเภอบางกรวย อำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอบางใหญ่ อำเภอบางบัวทอง และอำเภอไทรน้อยตามลำดับ ส่วนอีกสายคือถนนบางกรวย-ไทรน้อยสายแยกเข้าตัวอำเภอบางใหญ่เก่า เป็นเส้นทางสั้น ๆ ในเขตอำเภอบางใหญ่ ระยะทางบางส่วนของถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็น "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3584".

ดู อำเภอไทรน้อยและถนนบางกรวย-ไทรน้อย

ถนนบ้านกล้วย-ไทรน้อย

นนบ้านกล้วย-ไทรน้อย (Thanon Ban Kluai - Sai Noi) หรือ ทางหลวงชนบท น.1013 สายแยกทางหลวงหมายเลข 9 (กม.ที่ 43+490) - อำเภอไทรน้อย เป็นถนนขนาด 2 ช่องการจราจรในจังหวัดนนทบุรี เริ่มจากถนนกาญจนาภิเษก (ฝั่งตะวันตก) ในพิ้นที่ตำบลพิมลราช (ในเขตเทศบาลเมืองบางบัวทอง) อำเภอบางบัวทอง ไปทางทิศตะวันตก เข้าสู่ตำบลพิมลราช (ในเขตเทศบาลเมืองพิมลราช) จากนั้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือโดยขนานไปกับแนวคลองพระพิมลราชา ข้ามคลองตาชมเข้าเขตตำบลไทรน้อย อำเภอไทรน้อย ไปทางทิศเดิม และไปสิ้นสุดบริเวณเขตเทศบาลตำบลไทรน้อย โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนเทศบาล 6.

ดู อำเภอไทรน้อยและถนนบ้านกล้วย-ไทรน้อย

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 สายบางบัวทอง–ชัยนาท หรือเรียกกันทั่วไปว่า ถนนบางบัวทอง–สุพรรณบุรี และ ถนนสุพรรณบุรี–ชัยนาท เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดชัยนาท ระยะทาง 164.21 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่สามารถไปภาคเหนือได้โดยไม่ต้องผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เดิมชื่อ ถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ก่อสร้างเมื่อปี..

ดู อำเภอไทรน้อยและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 สายต่างระดับรังสิต–พนมทวน เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี, จังหวัดนนทบุรี, จังหวัดนครปฐม และจังหวัดกาญจนบุรี ต้นทางอยู่ที่ทางแยกต่างระดับรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี และปลายทางอยู่ที่แยกพนมทวน อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ถนนสายนี้เริ่มจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน) ที่ทางแยกต่างระดับรังสิต มาทางทิศตะวันตก เข้าสู่เขตอำเภอเมืองปทุมธานี และตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 (ติวานนท์-รังสิต) ที่แยกบางพูน แล้วผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3309 ผ่านทางพิเศษอุดรรัถยา แล้วตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 (ติวานนท์) ที่แยกบ้านกลาง แล้วโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 (ปทุมธานี-บางปะหัน) ที่แยกเทคโนปทุมธานี ข้ามสะพานปทุมธานี ตัดผ่านตัวจังหวัดปทุมธานี ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3111 (ปทุมสามโคก) ที่แยกสันติสุข แล้วโค้งไปทางใต้ ตัดกับถนนปทุมลาดหลุมแก้วที่แยก อ.ปทุมธานี ออกไปทางถนนกาญจนาภิเษกและตัดกันที่ทางแยกต่างระดับลาดหลุมแก้ว เข้าสู่อำเภอลาดหลุมแก้ว ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 (บางบัวทอง-สุพรรณบุรี) ทีแยกนพวงศ์ จากนั้นข้ามคลองลากค้อน เข้าเขตอำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับทางหลวงชนบท น.3004 และทางหลวงท้องถิ่นสายบ้านไทรน้อย-บ้านคลองนาหมอนที่แยกไทรน้อย เข้าสู่อำเภอบางเลน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม เข้าสู่อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี สิ้นสุดเส้นทาง.

ดู อำเภอไทรน้อยและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346

คลองทวีวัฒนา

ลองทวีวัฒนา คลองทวีวัฒนา เป็นคลองที่ขุดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ต่อจากคลองเปรมประชากร เริ่มขุดในปี..

ดู อำเภอไทรน้อยและคลองทวีวัฒนา

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ดู อำเภอไทรน้อยและตำบล

แม่น้ำท่าจีน

แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกตัวออกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ ตำบลท่าซุงบริเวณปากคลองมะขามเฒ่า จึงเรียกแม่น้ำนั้นว่า คลองมะขามเฒ่า และมาหักเลี้ยวเป็นแยกแม่น้ำที่ไหลไปเชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาได้อีกที ตรงที่เป็นพื้นที่ปากคลอง ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท กับ ฝั่งตะวันตกที่อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 325 กิโลเมตร แม่น้ำท่าจีนมีชื่อเรียกหลายชื่อ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรียกว่า "แม่น้ำมะขามเฒ่า" ตอนที่ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกว่า "แม่น้ำสุพรรณบุรี" ตอนที่ผ่านจังหวัดนครปฐมเรียกว่า "แม่น้ำนครชัยศรี" ส่วนตอนที่ไหลผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่อ่าวไทยเรียกว่า "แม่น้ำท่าจีน".

ดู อำเภอไทรน้อยและแม่น้ำท่าจีน

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ดู อำเภอไทรน้อยและแม่น้ำเจ้าพระยา

เทศบาลตำบลไทรน้อย

ทศบาลตำบลไทรน้อย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลในเขตอำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี และเป็นเทศบาลตำบลหนึ่งในสิบเอ็ดแห่งของจังหวัดนนทบุรีในปัจจุบัน.

ดู อำเภอไทรน้อยและเทศบาลตำบลไทรน้อย

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ดู อำเภอไทรน้อยและเขตการปกครองของประเทศไทย

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู อำเภอไทรน้อยและ1 มกราคม

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ดู อำเภอไทรน้อยและ6 มิถุนายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ.ไทรน้อยไทรน้อย