โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอห้วยทับทัน

ดัชนี อำเภอห้วยทับทัน

ห้วยทับทัน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัด มีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ แยกออกมาจาก อำเภออุทุมพรพิสัยประกาศตั้งเป็นกิ่งอำเภอห้วยทับทัน เมื่อวันที่ 17 ม..

24 ความสัมพันธ์: มะดันมะเกลือรายชื่อวัดในจังหวัดศรีสะเกษสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สถานีรถไฟกรุงเทพสถานีรถไฟศรีสะเกษหมู่บ้านอำเภออำเภอบัวเชดอำเภอบึงบูรพ์อำเภอรัตนบุรีอำเภอสำโรงทาบอำเภออุทุมพรพิสัยอำเภอปรางค์กู่อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณอำเภอเมืองจันทร์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดสุรินทร์ตำบลตำบลปราสาทปราสาทบ้านปราสาทเทศบาลตำบลห้วยทับทันเทศบาลตำบลจานแสนไชยเขตการปกครองของประเทศไทย

มะดัน

มะดัน (pierre.)หรือส้มไม่รู้ถอย หรือส้มมะดัน เป็น ผลไม้ที่เป็นประเภทไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ อยู่ในวงศ์ GUTTIFERAE มีกิ่งก้านเล็กๆจำนวนมาก โคนกิ่งเล็กเป็นเต้านูน บางต้นมีกิ่งเล็กๆงอกสานกันคล้ายรังนก เรียกรกมะดัน ใบเดี่ยวรูปไข่ ปลายแหลม ดอกสีเขียว ผลมะดันนั้นมีลักษณะที่ยาวรีสีเขียวและเปรี้ยวจัด เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งและขรุขร.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

มะเกลือ

มะเกลือ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ebenaceae พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป เรือนยอดเป็นพุ่มกลมกิ่งอ่อนมีขนนุ่ม ผลดิบของมะเกลือมีสรรพคุณเป็นยา จัดเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง สมัยก่อนนิยมใช้ยางผลมะเกลือไปย้อมผ้า ผลที่เปลือกเป็นสีดำ เมื่อรับประทานทำให้หน้ามืด ตาลายตาพร่ามัว อาเจียน ท้องเดินและตาบอดได้ มะเกลือเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของจังหวัดสุพรรณบุรี ในภาคเหนือเรียกต้นไม้ชนิดนี้ว่า มะเกีย มะเกือ หรือ ผีผา ทางใต้เรียกว่า เกลือ แถบเขมร-ตราดเรียก มักเกลือ.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและมะเกลือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดศรีสะเกษ

รายชื่อวัดในจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและรายชื่อวัดในจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟศรีสะเกษ

นีรถไฟศรีสะเกษ เป็น สถานี ระดับสถานีชั้น 1 ในทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ทำการสถานีตั้งอยู่ที่ตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นสถานีรถไฟที่ตั้งอยู่ใจกลางเมือง การคมนาคมสะดวก ระยะทางจากกรุงเทพถึงสถานีศรีสะเกษ คือ 515 กิโลเมตร ปัจจุบัน การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้ให้บริการรถไฟทั้งขบวนรถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็ว จากสถานีกรุงเทพ อีกทั้งยังมีรถท้องถิ่นเดินระหว่างสถานีนครราชสีมา และสถานีลำชี จังหวัดสุรินทร์ รวมทั้งสิ้น 24 ขบวนต่อวัน จากสถานีกรุงเทพใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 - 11 ชั่วโมง ตามแต่ประเภทขบวนร.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและสถานีรถไฟศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบัวเชด

ัวเชด เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภอบัวเชด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบึงบูรพ์

ึงบูรพ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดศรีสะเกษ มีที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ทางทิศเหนือและทิศตะวันตก จัดเป็นอำเภอที่มีขนาดเล็กและมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดในจังหวัดศรีสะเกษ โดยได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอบึงบูรพ์เมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภอบึงบูรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรัตนบุรี

รัตนบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ มีเจ้าเมืองคนแรกคือ หลวงศรีนครเตาท้าวเธอ (เชียงสีหรือตากะอาม)ซึ่งเป็นชาวกูยและเมืองรัตนบุรียังมีประวัติศาสตร์และประเพณียาวนานกว่า 200 ปี อำเภอรัตนบุรี ถือว่าเป็นอำเภอเดียวในจังหวัดสุรินทร์ ที่ประชากรส่วนมากพูดภาษาลาว มากกว่าภาษาเขมรหรือส่วย ซึ่งชาติพันธุ์ลาวได้อพยพเข้ามาอยู่ในแถบเมืองรัตนบุรีเมื่อราวสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่3.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภอรัตนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสำโรงทาบ

ำโรงทาบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภอสำโรงทาบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออุทุมพรพิสัย

อุทุมพรพิสัย (ในอดีตเขียน "อุทุมพรพิไสย") เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นอำเภอเก่าแก่ของจังหวัดศรีสะเกษ (แรกเริ่มการก่อตั้งจังหวัดศรีสะเกษมี 6 อำเภอ คือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอกันทรารมย์ อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุขันธ์ อำเภอราษีไศล และอำเภออุทุมพรพิสัย) เป็นอำเภอที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเคยเสด็จพระราชดำเนินทางรถไฟเยี่ยมพสกนิกรเมื่อครั้งอดีต เป็นอำเภอที่มีความหนาแน่นของประชากรสูงที่สุดของจังหวัดศรีสะเกษ มีอำเภอที่แยกจากอำเภออุทุมพรพิสัยไปแล้ว 4 อำเภอ คือ อำเภอห้วยทับทัน อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอเมืองจันทร์ และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภออุทุมพรพิสัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปรางค์กู่

ปรางค์กู่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด ในอดีตเป็นพื้นที่ที่มีความแห้งแล้งมากที่สุดในจังหวัดศรีสะเกษ และมีความแห้งแล้งในลำดับต้นๆ ของประเทศไทย ปัจจุบันมีความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธ์ธัญญาหาร และเป็นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภอปรางค์กู่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ

รีสุวรรณ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองจันทร์

มืองจันทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ แยกออกจากอำเภออุทุมพรพิสัย เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2535 และต่อมาเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2540 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเป็น อำเภอเมืองจันทร.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและอำเภอเมืองจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลปราสาท

ตำบลปราสาท อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและตำบลปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านปราสาท

ปราสาทห้วยทับทัน ปราสาทห้วยทับทัน (ปราสาทบ้านปราสาท หรือ ปราสาทบ้านโนนธาตุ) ตั้งอยู่ที่วัดปราสาทพนาราม บ้านปราสาท หมู่ที่ 12 ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 ประมาณ 39 กิโลเมตร ถึงตัวอำเภอห้วยทับทัน เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงชนบทอีกประมาณ 8 กิโลเมตร ปราสาทบ้านโนนธาตุ สร้างขึ้นตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ เป็นศิลปกรรมร่วมสมัยแบบปาปวน ปราสาทแห่งนี้ถูกสร้างบูรณะมาแล้ว 3 ยุค สังเกตได้จากอิฐที่เรียงก้อนกัน.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและปราสาทบ้านปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลห้วยทับทัน

ทศบาลตำบลห้วยทับทัน เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ขนาดเล็ก อยู่ในเขตพื้นที่อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 306 หมู่ 1 ตำบลห้วยทับทัน อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ เป็น 1 ในจำนวนเทศบาลตำบล 23 แห่งในปัจจุบันของจังหวัดศรีสะเกษ เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนบนของจังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันตกโดยทางรถยนต์ประมาณ 37 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอและหน่วยงานการบริหารราชการระดับภูมิภาคอื่นๆ ของอำเภอห้วยทับทัน รวมทั้งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง และการสื่อสารของอำเภอ.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและเทศบาลตำบลห้วยทับทัน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลจานแสนไชย

ในสมัยก่อน ตำบลจานแสนไชยยังไม่ปรากฏ แต่เดิมนั้นขึ้นอยู่กับ ตำบลกล้วยกว้าง อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาก็ได้แยกตัวออกจากตำบลกล้วยกว้างมาตั้งเป็นตำบลจานแสนไชย หลังจากกิ่งอำเภอห้วยทับทันเปลียนมมาเป็นอำเภอห้วยทับทันและได้จัดตั้งสภาตำบลจานแสนไชย โดยมีหมู่บ้านในสังกัด ๑๓ หมู่บ้าน เทศบาลตำบลจานแสนไชย นั้นได้รับหลังจากการยกฐานะเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ ได้จัดตั้งเป็นเทศบาลตำบล เมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและเทศบาลตำบลจานแสนไชย · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: อำเภอห้วยทับทันและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ห้วยทับทันอ.ห้วยทับทันอ.ห้วยทัพทันอำเภอห้วยทัพทัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »