สารบัญ
51 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2443พ.ศ. 2444พ.ศ. 2447พ.ศ. 2448พ.ศ. 2536พ.ศ. 2541พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพุทธรูปพระพุทธโสธรพระสุนทรโวหาร (ภู่)กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)กรุงเทพมหานครการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสนธิสัญญาเบอร์นีสนธิสัญญาเบาว์ริงหมู่บ้านหลวงพ่อบ้านแหลมหอยปากเป็ดหอยแครงหอยเสียบหาดเจ้าสำราญอำเภอบางพลีอำเภอสามพรานอำเภออัมพวาอำเภอเมืองสมุทรสงครามอำเภอเมืองเพชรบุรีอำเภอเขาย้อยองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้วองค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเลองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมผักเบี้ยอ่าวไทยจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดนครปฐมจังหวัดเพชรบุรีท่าเรือกรุงเทพตำบลตำบลบางตะบูนออกตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม)นกกาน้ำใหญ่นิราศเมืองเพชรน้ำตาลโตนดแม่น้ำแม่กลองแหลมฉบังเกลือเทศบาลตำบลบางตะบูนเทศบาลตำบลบ้านแหลม (จังหวัดเพชรบุรี)5 มิถุนายน... ขยายดัชนี (1 มากกว่า) »
พ.ศ. 2443
ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2444
ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2447
ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2448
ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.
พ.ศ. 2536
ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2541
ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู อำเภอบ้านแหลมและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู อำเภอบ้านแหลมและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระพุทธรูป
ระพุทธรูป หมายถึง รูปที่สร้างขึ้นแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อกราบไหว้บูชา อาจใช้การแกะสลักจากวัสดุต่างๆ เช่น ศิลา งา ไม้ หรือวัสดุอื่นๆ นอกจากนี้ยังอาจใช้การปั้นหรือหล่อด้วยโลหะก็ได้ โดยทั่วไป คำว่า พระพุทธรูปมักจะหมายถึง รูปขนาดใหญ่พอที่จะวางบูชาได้ สำหรับรูปขนาดเล็กมักจะเรียกว่า พระเครื่อง อย่างไรก็ตาม ทั้งสองแบบสามารถเรียกว่า พระพุทธรูป ได้เช่นกัน.
พระพุทธโสธร
หลวงพ่อโสธร หรือ หลวงพ่อพระพุทธโสธร เป็นพระพุทธรูปสำคัญของจังหวัดฉะเชิงเทรา ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถวัดโสธรวรารามวรวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นพระพุทธรูปหินทราย สมัยอยุธยาตอนต้น หน้าตักกว้างประมาณ 1 ศอกเศษ เป็นพระพุทธรูปขัดสมาธิราบ ปางสมาธิ พระพักตร์ค่อนข้างกลมแป้น พระขนงโก่งเล็กน้อย พระเนตรเล็กหรี่ เหลือบลงต่ำ พระโอษฐ์เล็ก สีพระพักตร์ขรึมแบบอยุธยา ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะเขมร แต่ได้เสริมแต่งขึ้นจากเดิมโดยพอกปูน ลงรักปิดทองให้เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ หน้าตักกว้าง 3 ศอก 5 นิ้ว.
ดู อำเภอบ้านแหลมและพระพุทธโสธร
พระสุนทรโวหาร (ภู่)
ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..
ดู อำเภอบ้านแหลมและพระสุนทรโวหาร (ภู่)
กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)
กรมพระเทพามาตย์ (สวรรคต: พ.ศ. 2317) มีพระนามเดิมว่า เอี้ยง หรือ นกเอี้ยง เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สันนิษฐานว่าแต่เดิมพระองค์มีพื้นเพเป็นชาวจังหวัดเพชรบุรีและอาจมีเชื้อสายจีน พระองค์สมรสกับหยง แซ่แต้ วานิชชาวแต้จิ๋ว มีบุตรคนหนึ่งชื่อ สิน ที่ต่อมาได้ครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หลังสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีขึ้นครองราชย์ ในปี..
ดู อำเภอบ้านแหลมและกรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู อำเภอบ้านแหลมและกรุงเทพมหานคร
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (Ecotourism) หมายถึงการท่องเที่ยวที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อม และผู้ที่มาท่องเที่ยวนั้นจะต้องเป็นบุคคลเฉพาะกลุ่มโดยรู้และไม่ทำลายสภาพแวดล้อม เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรชุมชน หรือสิ่งที่น่าจะทำให้การท่องเที่ยวนั้นเสียหาย ซึ่งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์นี้รวมไปถึงรูปแบบการท่องเที่ยวในเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หรือการท่องเที่ยวในรูปแบบ MICE หมวดหมู่:การท่องเที่ยว หมวดหมู่:สิ่งแวดล้อม หมวดหมู่:การอนุรักษ์.
ดู อำเภอบ้านแหลมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..
ดู อำเภอบ้านแหลมและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
สนธิสัญญาเบอร์นี
นธิสัญญาเบอร์นี (Burney Treaty) คือ สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์ฉบับแรกที่กรุงรัตนโกสินทร์ (ต่อมาคือประเทศไทย) ทำกับประเทศตะวันตกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เฮนรี เบอร์นีได้เป็นทูตอังกฤษเดินทางเข้ามายังกรุงรัตนโกสินทร์ใน..
ดู อำเภอบ้านแหลมและสนธิสัญญาเบอร์นี
สนธิสัญญาเบาว์ริง
หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษและประเทศสยาม (Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam) หรือบนปกสมุดไทย ใช้ชื่อว่า หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง หรือที่มักเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาเบาว์ริง (Bowring Treaty) เป็นสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำกับสหราชอาณาจักร ลงนามเมื่อ 18 เมษายน..
ดู อำเภอบ้านแหลมและสนธิสัญญาเบาว์ริง
หมู่บ้าน
หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.
หลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลม เป็นพระพุทธรูปยืน ปางอุ้มบาตร สูงประมาณ 2 เมตร 80 เซนติเมตร หล่อด้วยทองเหลืองปิดทอง ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถวัดเพชรสมุทรวรวิหารหรือที่เรียกว่าวัดบ้านแหลม เป็นพระพุทธรูปสำคัญของชาวเมืองแม่กลอง หรือจังหวัดสมุทรสงคราม.
ดู อำเภอบ้านแหลมและหลวงพ่อบ้านแหลม
หอยปากเป็ด
หอยปากเป็ด หรือ หอยราก หรือ หอยตะเกียง (Lamp shell) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในไฟลัมแบรคิโอโพดา (Brachiopoda) ซึ่งไม่ใช่สัตว์จำพวกหอย (Mollusca) แต่มีเปลือก 2 ฝาลักษณะคล้ายคลึงกับหอยกาบคู่ เปลือกมีสีเขียวอมน้ำตาลคล้ายหอยแมลงภู่ พบอาศัยฝังตัวอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็นทรายปนเลน โดยใช้ส่วนอวัยวะที่เรียกว่ารากเป็นท่อนเอ็นยาวคล้ายหางช่วยในการเคลื่อนที่ฝังตัวลงในพื้นทราย อาศัยตามพื้นท้องทะเลชายฝั่งตื้น ๆ ที่เป็นโคลนแข็งหรือโคลนเลน กินอาหารจำพวกไดอะตอม, แพลงตอนพืช และแพลงตอนสัตว์บางชนิด สามารถใช้ปรุงเป็นอาหารได้.
หอยแครง
หอยแครง เป็นหอยจำพวกกาบคู่ ความยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร.
หอยเสียบ
หอยเสียบ (Pharella javanica) บางแห่งอาจเรียก หอยมีดโกน หอยเสียบ หอยเสียบทราย ชื่อสามัญ: Razor clam, Knife jacked clam, Cultellus clam บางครั้งอาจจะทำให้สับสนซึ่งชื่อตามภาษาไทยในท้องถิ่น เหมือนกันกับหอยเสียบ (หอยเสียบทราย)ที่มีชื่อสามัญ Donax wedge shell หรือ Pacific bean donex ซึ่งแท้ที่จริงแล้วอยู่ต่างจำพวกกัน.
หาดเจ้าสำราญ
หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นชายหาด ที่เคยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ มาแต่สมัยโบราณ มีประวัติเล่ากันมาว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เคยเสด็จมาที่นี่ พร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงพอพระราชหฤทัย ในความงามของหาดนี้มาก ทรงประทับแรมอยู่หลายวัน จน ชาวบ้าน เรียกหาดนี้ว่า หาดเจ้าสำราญ จากหาดเจ้าสำราญ ไปทางใต้ประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นชายหาดปึกเตียน ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยว อีกแห่งของจังหวัดเพชรบุรี หาดเจ้าสำราญเจริญถึงขีดสุดในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นหาดที่มีชื่อเสียงมากกว่าหาดอื่นๆในสมัยนั้น โดยโปรดเกล้าให้สร้างค่ายหลวงขึ้นเรียกว่า "ค่ายหลวงบางทะลุ" ตามชื่อของตำบลบางทะลุ ที่เป็นที่ตั้งโดยมี "พระตำหนักบริเวณริมหาดแห่งนี้เรียกว่า “พระตำหนักหาดเจ้าสำราญ” ภายหลังทรงหายจากพระประชวร ทรงได้เปลี่ยนชื่อตำบลเสียใหม่ ด้วยชื่อเดิมเห็นว่าไม่เป็นมงคล เป็น ตำบลหาดเจ้าสำราญ ตามชื่อของหาดแต่ต่อมาทรงได้ย้ายพระตำหนักไปยังจุดที่เป็น พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ในปัจจุบันเพราะหาดเจ้า สำราญมีแมลงวันชุมเนื่องจากพระตำหนักแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้หมู่บ้านชาวประมงทำให้พระตำหนักแห่งนี้มีแมลงวันชุมจนพระองค์แอบได้ยินข้าราชบริพารในพระองค์ บ่นว่า "หาดเจ้าสำราญแต่ข้าราชบริพารเบื่อ" และหาดแห่งนี้ขาดแคลนน้ำจืดจึงโปรดให้ย้ายไปในที่สุด หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ในตำบลหาดเจ้าสำราญ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ชายหาดแห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าไปพักผ่อนแห่งหนึ่ง มีบรรยากาศที่เงียบสงบ อากาศเย็นสบาย มีสัตว์ทะเลที่อุดมสมบูรณ์ ทั้ง ปูเสฉวน หอย แมงกะพรุน มีที่พักพร้อม มีร้านสะดวกซื้ออยู่ใกล้เคียง สามารถลงเล่นน้ำได้ ในบริเวณใกล้เคียงมีหมู่บ้านชาวประมง ชายหาดแห่งนี้ทรายถูกพัดถมขึ้นมามากขึ้นเรื่อยๆ จึงมีทรายที่ละเอียดมากในส่วนของต้นหาด ที่นี่จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ไม่ต้องไปไกลมาก และมีความสวยงามมากแห่งหนึ่ง.
ดู อำเภอบ้านแหลมและหาดเจ้าสำราญ
อำเภอบางพลี
งพลี เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ตั้งของโครงการสร้างศูนย์ที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุแบบครบวงจร และเป็นที่ตั้งของสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลทางเข้าวัดบัวโร.
ดู อำเภอบ้านแหลมและอำเภอบางพลี
อำเภอสามพราน
อำเภอสามพราน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม มีแม่น้ำนครชัยศรีไหลผ่าน.
ดู อำเภอบ้านแหลมและอำเภอสามพราน
อำเภออัมพวา
อำเภออัมพวา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสงคราม.
ดู อำเภอบ้านแหลมและอำเภออัมพวา
อำเภอเมืองสมุทรสงคราม
อำเภอเมืองสมุทรสงคราม เป็นอำเภอเมืองของจังหวัดสมุทรสงคราม เป็นอำเภอที่ขึ้นชื่อเรื่องปลาทูและมีนิทรรศการงานปลาทูแม่กลองทุกปี.
ดู อำเภอบ้านแหลมและอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
อำเภอเมืองเพชรบุรี
อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองการบริหาร เศรษฐกิจ และการศึกษาของจังหวัดเพชรบุรี มีอาณาบริเวณเป็นที่ราบ มีภูเขาหินปูนโดดบ้างเล็กน้อย มีชายหาดที่ขึ้นชื่อคือ "หาดเจ้าสำราญ" มีแม่น้ำซึ่งเป็นที่ตั้งของชุมชนคนเมืองเพชรบุรีมาแต่สมัยโบราณไหลผ่านกลางอำเภอ นั่นคือ "แม่น้ำเพชร" และหากมองจากเขตเทศบาล จะปรากฏ "เขาวัง" หรือ "พระนครคีรี" ตั้งตระหง่านบนยอดเขาสามลูก อีกทั้งยังมีพระปรางค์ 5 ยอด อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองในสมัยโบราณด้ว.
ดู อำเภอบ้านแหลมและอำเภอเมืองเพชรบุรี
อำเภอเขาย้อย
อำเภอเขาย้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี.
ดู อำเภอบ้านแหลมและอำเภอเขาย้อย
องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว
องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว อาจหมายถึง.
ดู อำเภอบ้านแหลมและองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว
องค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเล
องค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเล เป็นตำบลหนึ่งในจำนวนสิบตำบลที่ตั้งอยู่ในเขต อำเภอบ้านแหลมจังหวัดเพชรบุรี ได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.
ดู อำเภอบ้านแหลมและองค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเล
องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมผักเบี้ย
องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมผักเบี้ย เป็นองค์กรส่วนปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ตั้งอยู่ในตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยรับผิดชอบพื้นทั้งหมดในตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีทั้งหมด 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 หมู่บ้านพะเนิน หมู่ที่ 2 หมู่บ้านดอนใน หมู่ที่ 3 หมู่บ้านดอนกลาง หมู่ที่ 4 หมู่บ้านดอนคดี.
ดู อำเภอบ้านแหลมและองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมผักเบี้ย
อ่าวไทย
อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.
จังหวัดสมุทรสงคราม
ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ.
ดู อำเภอบ้านแหลมและจังหวัดสมุทรสงคราม
จังหวัดสมุทรปราการ
ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู อำเภอบ้านแหลมและจังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดนครปฐม
ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.
ดู อำเภอบ้านแหลมและจังหวัดนครปฐม
จังหวัดเพชรบุรี
ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.
ดู อำเภอบ้านแหลมและจังหวัดเพชรบุรี
ท่าเรือกรุงเทพ
ท่าเรือคลองเตย หรือ ท่าเรือกรุงเทพ เป็นท่าเรือสำคัญของกรุงเทพมหานคร อยู่ในความดูแลของการท่าเรือแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ย่านคลองเตย ในอนาคตมีโครงการจะทำเป็น Docklands เพื่อพัฒนาท่าเรือกรุงเทพทั้งหมด ที่มีภูมิประเทศคล้ายกันที่ Docklands มีแม่น้ำเทมส์ไหลผ่าน และท่าเรือกรุงเทพมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่านด้วยรูปลักษณ์เหมือนมังกร โค้งเว้าเป็นท้องมังกรเช่นเดียวกัน ในอดีต Docklands คือท่าเรือขนส่งสินค้าเพียงอย่างเดียว เหตุที่มาของคำว่าท่าเรือคลองเตยมาจากสถานที่ตั้งอยู่ในย่านคลองเตยซึ่งจะเรียกกันว่าท่าเรือคลองเตย และ ชื่อที่ต่างประเทศเรียกก็คือ BANGKOK PORT หรือ เรียกย่อๆว่า PAT (PORT AUTHORITY OF THAILAND) ท่าเรือกรุงเท.
ดู อำเภอบ้านแหลมและท่าเรือกรุงเทพ
ตำบล
ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.
ตำบลบางตะบูนออก
ตำบลบางตะบูนออก ประกอบไปด้วย 5 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านท้องคุ้ง หมู่ 2 บ้านสามคลอง หมู่ 3 บ้านคลองมอญ หมู่ 4 บ้านคุ้งตำหนัก หมู่ 5 บ้านเหมืองตานิ่ม จำนวนบ้าน 705 หลังคาเรือน บางตะบูนออก.
ดู อำเภอบ้านแหลมและตำบลบางตะบูนออก
ตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม)
ตำบลบางแก้ว เป็นตำบลตั้งอยู่ในเขตการปกครองส่วนภูมิภาคของอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ห่างจากที่ทำการอำเภอบ้านแหลม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 24.760 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 15,475 ไร่ มีองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้วรับผิดชอบอยู่ ในพื้นที่ 39,616 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย 8 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านบางแก้ว, บ้านนาแค, บ้านทำเนียบ, บ้านบนดอน, บ้านหนองแห้ว, บ้านนาบัว, บ้านร่องใหญ่ และบ้านเหมืองกลาง สืบค้นวันที่ 18 พฤศจิกายน..
ดู อำเภอบ้านแหลมและตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม)
นกกาน้ำใหญ่
นกกาน้ำใหญ่ (Great cormorant, Great black cormorant, Black cormorant, Black shag) เป็นนกในวงศ์นกกาน้ำ (Phalacrocoracidae) กระจายพันธุ์ในโลกเก่าและชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของทวีปอเมริกาเหนือ.
ดู อำเภอบ้านแหลมและนกกาน้ำใหญ่
นิราศเมืองเพชร
นิราศเมืองเพชร เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ ไม่ปรากฏว่าแต่งเรื่องนี้ขึ้นเมื่อใด แต่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า น่าจะแต่งเมื่อครั้งกลับเข้ารับราชการอยู่ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ และน่าจะเดินทางไปในราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง ประมาณปี พ.ศ.
ดู อำเภอบ้านแหลมและนิราศเมืองเพชร
น้ำตาลโตนด
น้ำตาลโตนด เป็นน้ำตาลที่ได้จากต้นตาลโตนด ซึ่งในกรณีที่เป็นต้นตาลตัวผู้จะได้จากงวงตาล โดยใช้มีดตาล ปาดตรงบริเวณปลายงวง เพื่อให้น้ำตาลไหลซึมออกมา ในกรณีที่เป็นต้นตัวเมียให้ใช้ไม้คาบนวดระหว่างลูกประมาณ 3 วัน แล้วใช้มีดปาดตาลปาดตรงบริเวณปลายจั่นหรืองวง ถ้ามีน้ำตาลไหลออกมาก็แสดงว่าใช้ได้.
แม่น้ำแม่กลอง
แม่น้ำแม่กลอง ขณะไหลผ่านจังหวัดสมุทรสงคราม แม่น้ำแม่กลอง เป็นแม่น้ำสำคัญสายหนึ่งในภาคตะวันตก เกิดจากแม่น้ำแควใหญ่และแควน้อย ไหลมาบรรจบกันที่ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ไหลผ่านจังหวัดราชบุรี สมุทรสงคราม และไหลลงสู่ปากอ่าวไทยที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม มีความยาวประมาณ 132 กิโลเมตร พื้นที่รับน้ำที่ปากแม่น้ำแม่กลอง 30,106 ตารางกิโลเมตร โดยช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดราชบุรี ได้อีกชื่อหนึ่งว่า "แม่น้ำราชบุรี" มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 30,837 ตร.กม.
ดู อำเภอบ้านแหลมและแม่น้ำแม่กลอง
แหลมฉบัง
แหลมฉบัง อาจหมายถึง.
เกลือ
กลือ เกลือ เป็นแร่ธาตุส่วนใหญ่ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) สารประกอบในระดับสูงกว่าเกลือชนิดต่าง ๆ เกลือในธรรมชาติก่อตัวเป็นแร่ผลึกรู้จักกันว่า เกลือหิน หรือแฮไลต์ เกลือพบได้ในปริมาณมหาศาลในทะเลซึ่งเป็นองค์ประกอบของแร่ที่สำคัญ ในมหาสมุทรมีแร่ธาตุ 35 กรัมต่อลิตร ความเค็ม 3.5% เกลือเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตสัตว์ ความเค็มเป็นรสชาติพื้นฐานของมนุษย์ เนื้อเยื่อสัตว์บรรจุเกลือปริมาณมากกว่าเนื้อเยื่อพืช ดังนั้นอาหารของชนเผ่าเร่ร่อนที่ดำรงชีวิตในฝูงต้องการเกลือเพียงเล็กน้อย หรือไม่ต้องการเกลือเลย ขณะอาหารประเภทซีเรียลจำเป็นต้องเพิ่มเกลือ เกลือเป็นหนึ่งในเครื่องปรุงรสที่เก่าแก่ที่สุดและหาได้ง่ายที่สุด และการดองเค็มก็เป็นวิธีการถนอมอาหารที่สำคัญวิธีหนึ่ง หลักฐานการทำเกลือยุคแรกที่สุดย้อนไปถึง 6,000 ปีที่แล้ว เมื่อคนที่อาศัยในประเทศโรมาเนียต้มน้ำเพื่อสกัดเกลือ การทำนาเกลือในจีนก็เกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกัน เกลือถูกชาวฮีบรู กรีก โรมัน ไบแซนไทน์ ฮิไทต์ และอียิปต์ ตีราคาสูง เกลือกลายเป็นวัตถุสำคัญและขนส่งทางเรือผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ผ่านทางทางเกลือที่สร้างขึ้นเฉพาะ และผ่านทะเลทรายซาฮาราในคาราวานอูฐ ความขาดแคลนและความต้องการเกลือทั่วโลกนำไปสู่สงครามชิงเกลือ และใช้เกลือเพื่อเพิ่มภาษีเงินได้ เกลือยังถูกใช้ในพิธีทางศาสนา และวัฒนธรรมต่าง ๆ ด้วย เกลือผลิตจากเหมืองเกลือ หรือจากการระเหยน้ำทะเล หรือน้ำซับที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุในบ่อตื้น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลักของเกลือคือโซดาไฟ และคลอรีน และใช้ในกระบวนการทางอุตสาหกรรมและในการผลิตโพลีไวนิลคลอไรด์ พลาสติก เยื่อกระดาษ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากการผลิตเกลือปริมาณสองล้านตันต่อปี มีเพียง 6% ที่ให้มนุษย์บริโภค ส่วนอื่น ๆ ใช้ในการปรับสภาวะของน้ำ กำจัดน้ำแข็งบนถนน และใช้ในการเกษตร เกลือที่กินได้มีขายในหลายรูปแบบ เช่น เกลือสมุทรและเกลือโต๊ะปกติจะบรรจุสารป้องกันการรวมตัวเป็นก้อน และอาจเสริมไอโอดีนเพื่อป้องกันภาวะพร่องไอโอดีน นอกจากจะใช้ปรุงอาหารและวางบนโต๊ะแล้ว เกลือยังพบได้ในอาหารแปรรูปจำนวนมาก อาหารที่มีโซเดียมมากเกินไปทำให้ความดันโลหิตสูง และอาจเพิ่มความเสี่ยงของกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าผู้ใหญ่ควรบริโภคโซเดียมน้อยกว่า 2,000 มิลลิกรัม หรือเทียบเท่ากับเกลือ 5 กรัมต่อวัน.
เทศบาลตำบลบางตะบูน
ฝูงวาฬบรูด้าในอ่าวบางตะบูน การละเล่นพื้นบ้าน เทศบาลตำบลบางตะบูน เป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการยกฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบลบางตะบูน เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล..
ดู อำเภอบ้านแหลมและเทศบาลตำบลบางตะบูน
เทศบาลตำบลบ้านแหลม (จังหวัดเพชรบุรี)
ทศบาลตำบลบ้านแหลม เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่งในเขตอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรีได้รับการจัดต้งเป็นสุขาภิบาล ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตำบล ตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542.
ดู อำเภอบ้านแหลมและเทศบาลตำบลบ้านแหลม (จังหวัดเพชรบุรี)
5 มิถุนายน
วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.
9 พฤษภาคม
วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ.บ้านแหลม