โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ส่วนกลางของกระดูกเรเดียส

ดัชนี ส่วนกลางของกระดูกเรเดียส

วนกลางของกระดูกเรเดียส หรือ ตัวกระดูกเรเดียส (body of the radius; shaft of radius) มีลักษณะคล้ายปริซึมสามเหลี่ยมที่โค้งออกไปทางด้านข้างเล็กน้อย ด้านบนแคบกว่าด้านล่าง ประกอบด้วย 3 ขอบกระดูก และ 3 พื้นผิว.

12 ความสัมพันธ์: กระดูกอัลนากระดูกเรเดียสกล้ามเนื้อสุพิเนเตอร์กล้ามเนื้อแอบดักเตอร์ พอลิซิส ลองกัสกล้ามเนื้อโปรเนเตอร์ ควอดราตัสกล้ามเนื้อเบรคิโอเรเดียลิสกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ พอลิซิส ลองกัสกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซุเปอร์ฟิเชียลิสกล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ พอลิซิส เบรวิสปริซึมปุ่มนูนเรเดียสเอ็นเยื่อระหว่างกระดูกของปลายแขน

กระดูกอัลนา

ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กระดูกอัลนา (Ulna) หรือ กระดูกปลายแขนด้านนิ้วก้อย เป็นหนึ่งในสองกระดูกที่เป็นแกนหลักของส่วนปลายแขนซึ่งเชื่อมต่อระหว่างข้อต่อที่สำคัญของรยางค์บน คือข้อศอก (elbow) และข้อมือ (wrist) และขนานไปกับกระดูกเรเดียส และเชื่อมกันโดยเอ็นเยื่อระหว่างกระดูก (interosseous membrane) เช่นเดียวกับกระดูกเรเดียส กระดูกอัลนาเป็นจุดเกาะที่สำคัญของกล้ามเนื้อและเอ็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของปลายแขนและมือ.

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกระดูกอัลนา · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกเรเดียส

ในกายวิภาคศาสตร์ กระดูกเรเดียส (Radius, ภาษาละตินอ่านว่า ราดิอุส) หรือกระดูกปลายแขนด้านนิ้วหัวแม่มือ เป็นหนึ่งในกระดูกสองชิ้นที่เป็นแกนหลักของส่วนปลายแขน และเชื่อมต่อระหว่างข้อต่อสองจุดที่สำคัญ คือข้อศอก (elbow) และข้อมือ (wrist) กระดูกเรเดียสจะมีลักษณะเป็นแท่งยาวคล้ายรูปปริซึม และวางอยู่ทางด้านข้างของกระดูกอัลนา (Ulna, ภาษาละตินอ่านว่า อุลนา) โดยจะมีแผ่นของเอ็นซึ่งเรียกว่า เอ็นเยื่อระหว่างกระดูก (interosseous membrane) และยังเป็นกระดูกที่มีจุดเกาะของกล้ามเนื้อจำนวนมาก เพื่อรองรับการเคลื่อนไหวของปลายแขนและมืออีกด้ว.

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกระดูกเรเดียส · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อสุพิเนเตอร์

กล้ามเนื้อสุพิเนเตอร์ (Supinator) เป็นกล้ามเนื้อกว้าง โค้งรอบด้านบน 1/3 ของกระดูกเรเดี.

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกล้ามเนื้อสุพิเนเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อแอบดักเตอร์ พอลิซิส ลองกัส

กล้ามเนื้อแอบดักเตอร์ พอลิซิส ลองกัส (Abductor pollicis longus) เป็นกล้ามเนื้อที่ทอดตัวอยู่ใต้กล้ามเนื้อสุพิเนเตอร์ (supinator) และบางครั้งอาจรวมเข้าอยู่ด้วยกัน.

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกล้ามเนื้อแอบดักเตอร์ พอลิซิส ลองกัส · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อโปรเนเตอร์ ควอดราตัส

กล้ามเนื้อโปรเนเตอร์ ควอดราตัส (Pronator quadratus; PQ) เป็นกล้ามเนื้อรูปสี่เหลี่ยมที่อยู่บนส่วนปลายของปลายแขน ทำหน้าที่คว่ำมือ เนื่องจากกล้ามเนื้อนี้อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของปลายแขน (anterior side of the arm) จึงถูกเลี้ยงด้วยเส้นประสาทแอนทีเรียร์อินเตอร์ออสเซียส (anterior interosseous nerve) ซึ่งเป็นแขนงของเส้นประสาทมีเดียน (median nerve) และถูกเลี้ยงโดยหลอดเลือดแดงแอนทีเรียร์อินเตอร์ออสเซียส (interosseous artery).

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกล้ามเนื้อโปรเนเตอร์ ควอดราตัส · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อเบรคิโอเรเดียลิส

กล้ามเนื้อเบรกิโอเรเดียลิส (Brachioradialis) เป็นกล้ามเนื้อของปลายแขน (forearm) ทำหน้าที่งอปลายแขนที่ข้อศอก สามารถทำหน้าที่ได้ทั้งคว่ำและหงายมือขึ้นกับตำแหน่งของปลายแขน กล้ามเนื้อนี้ยึดเกาะกับสไตลอยด์ โพรเซสของกระดูกเรเดียส (distal styloid process of the radius) และแนวสันซุปปราคอนไดลาร์ด้านข้าง (lateral supracondylar ridge) ของกระดูกต้นแขน (humerus).

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกล้ามเนื้อเบรคิโอเรเดียลิส · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ พอลิซิส ลองกัส

กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ พอลิซิส ลองกัส (flexor pollicis longus, FPL) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ในปลายแขน (forearm) และมือ ที่ทำหน้าที่งอนิ้วหัวแม่มือ กล้ามเนื้อนี้วางตัวอยู่ในระนาบเดียวกันกับกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม โปรฟันดัส (flexor digitorum profundus).

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ พอลิซิส ลองกัส · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซุเปอร์ฟิเชียลิส

กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซุเปอร์ฟิเชียลิส (Flexor digitorum superficialis) หรือ เฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซับลิมิส (Flexor digitorum sublimis; FDS) เป็นกล้ามเนื้อกลุ่มงอนิ้วมือที่ข้อต่อระหว่างกระดูกนิ้วมือส่วนต้น (proximal interphalangeal joints) อยู่ที่พื้นที่ด้านหน้าปลายแขน (anterior compartment of the forearm) ในบางครั้งอาจจัดว่าเป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ลึกที่สุดของกล้ามเนื้อชั้นตื้น (superficial layer) ของพื้นที่ด้านหน้าปลายแขน หรืออาจจัดแยกออกไปเป็นชั้นต่างหาก เรียกว่า ชั้นตรงกลาง (intermediate layer) ของพื้นที่ด้านหน้าปลายแขน.

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซุเปอร์ฟิเชียลิส · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ พอลิซิส เบรวิส

กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ พอลิซิส เบรวิส (Extensor pollicis brevis) เป็นกล้ามเนื้อที่ทอดตัวอยู่ด้านใกล้กลางของกล้ามเนื้อแอบดักเตอร์ พอลิซิส ลองกัส (Abductor pollicis longus).

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและกล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ พอลิซิส เบรวิส · ดูเพิ่มเติม »

ปริซึม

ปริซึมหกเหลี่ยมปรกติ ปริซึม (prism) คือทรงหลายหน้าที่สร้างจากฐานรูปหลายเหลี่ยมที่เหมือนกันและขนานกันสองหน้า และหน้าด้านข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน พื้นที่หน้าตัดทุกตำแหน่งที่ขนานกับฐานจะเป็นรูปเดิมตลอด และปริซึมก็เป็นพริสมาทอยด์ (prismatoid) ชนิดหนึ่งด้วย ปริซึมมุมฉาก (right prism) หมายความว่าเป็นปริซึมที่มีจุดมุมของรูปหลายเหลี่ยมบนฐานทั้งสองอยู่ตรงกันตามแนวดิ่ง ทำให้หน้าด้านข้างตั้งฉากกับฐานพอดีและเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากทุกด้าน ส่วน ปริซึม n เหลี่ยมปกติ (n-prism) หมายถึงปริซึมที่มีรูปหลายเหลี่ยมบนฐาน เป็นรูปหลายเหลี่ยมปรกติ (ทุกด้านยาวเท่ากัน) และเมื่อปริซึมอันหนึ่งๆ สามารถเป็นได้ทั้งปริซึมมุมฉาก ปริซึม n เหลี่ยมปรกติ และขอบทุกด้านยาวเท่ากันหมด จะถือว่าปริซึมอันนั้นเป็นทรงหลายหน้ากึ่งปรกติ (semiregular polyhedron) ทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานก็ถือเป็นปริซึมสี่เหลี่ยมด้านขนาน สำหรับปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากก็เทียบเท่ากับทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสก็คือทรงลูกบาศก์นั่นเอง ปริมาตรของปริซึมสามารถคำนวณได้ง่ายๆ โดยการหาพื้นที่ผิวของฐานมาหนึ่งด้าน คูณด้วยความสูงของปริซึม.

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและปริซึม · ดูเพิ่มเติม »

ปุ่มนูนเรเดียส

ปุ่มนูนเรเดียส (radial tuberosity) เป็นปุ่มนูนที่อยู่ด้านใกล้กลางลำตัว ใต้ต่อคอกระดูกเรเดียส พื้นผิวของปุ่มนี้แบ่งออกเป็น.

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและปุ่มนูนเรเดียส · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นเยื่อระหว่างกระดูกของปลายแขน

อ็นเยื่อระหว่างกระดูกของปลายแขน (interosseous membrane of the forearm) เป็นแผ่นเส้นใยที่เชื่อมระหว่างกระดูกเรเดียส (radius) และกระดูกอัลนา (ulna) เป็นโครงสร้างหลักของข้อต่อชนิดแผ่นเยื่อคั่นเรดิโออัลนา (radio-ulnar syndesmosis) ซึ่งเป็นข้อต่อระหว่างกระดูกทั้งสองชิ้นนี้ เอ็นเยื่อระหว่างกระดูกของปลายแขนแบ่งพื้นที่ของปลายแขนออกเป็นพื้นที่ด้านหน้า (anterior compartment) และด้านหลัง (posterior compartment) เป็นบริเวณที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อในปลายแขน และส่งผ่านแรงจากกระดูกเรเดียส ไปยังกระดูกอัลนา ไปยังกระดูกต้นแขน (humerus).

ใหม่!!: ส่วนกลางของกระดูกเรเดียสและเอ็นเยื่อระหว่างกระดูกของปลายแขน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Body of radiusBody of the radiusShaft of radiusตัวกระดูกเรเดียส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »