เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สีกลุ่มชนสลาฟ

ดัชนี สีกลุ่มชนสลาฟ

ีกลุ่มชนสลาฟ (Pan-Slavic colors) เป็นสีที่ใช้ในธงของประเทศหรือดินแดนที่มีกลุ่มชนสลาฟอาศัยอยู่ ประกอบด้วยสีแดง น้ำเงิน ขาว สีกลุ่มชนสลาฟมีที่มาจากการประชุมชาวสลาฟที่กรุงปราก ปี..

สารบัญ

  1. 20 ความสัมพันธ์: กาเกาเซียรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บวอยวอดีนาสาธารณรัฐไครเมียสาธารณรัฐเซิร์ปสกาสีขาวสีน้ำเงินสีแดงธงชาติรัสเซียธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวียธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียธงชาติสโลวาเกียธงชาติสโลวีเนียธงชาติโครเอเชียธงชาติเช็กเกียธงชาติเซอร์เบียธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกรประเทศสโลวีเนียประเทศเชโกสโลวาเกียโครงการกูเทนแบร์ก

  2. ธัชวิทยา

กาเกาเซีย

กาเกาเซีย หรือ จังหวัดปกครองตนเองกาเกาเซีย (Autonomous Province of Gagauzia) เป็นหนึ่งในสองจังหวัดปกครองตนเองของสาธารณรัฐมอลโดวา กาเกาเซียตั้งอยู่ทางตอนใต้ของมอลโดวา มีพื้นที่ 1,832 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 160,700 คน โดยมีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดอยู่ที่คอมรัต (Comrat) กาเกาเซียมีภาษาราชการ 3 ภาษา ประชากรส่วนใหญ่มีเชื้อสายเติร์ก และไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล จึงต้องการผลักดันให้ดินแดนกาเกาเซียเป็นเอกราชจากมอลโดว.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและกาเกาเซีย

รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ

รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ (State of Slovenes, Croats and Serbs) เป็นรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเพียงในระยะเวลาอันสั้น โดยตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บก่อตั้งขึ้นหลังจากการยุบตัวของจักรวรรดิหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยประชาชนชาวสโลวีน ชาวโครเอเชีย และชาวเซอร์เบีย รวมไปถึงชาวบอสนีแอก.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ

วอยวอดีนา

วอยวอดีนา (สีแดง) ทางตอนเหนือของสาธารณรัฐเซอร์เบีย วอยวอดีนา หรือ จังหวัดปกครองตนเองวอยวอดีนา (Аутономна Покрајина Војводина, Autonomna Pokrajina Vojvodina, Vajdaság Autonóm Tartomány; Autonómna Pokrajina Vojvodina; Provincia Autonomă Voievodina; Autonomna Pokrajina Vojvodina; รูซิน: Автономна Покраїна Войводина; Autonomous Province of Vojvodina) เป็นหนึ่งในสองจังหวัดปกครองตนเองของสาธารณรัฐเซอร์เบีย ที่มีประชากรร้อยละ 27 ของจำนวนประชากรทั้งหมด (ค.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและวอยวอดีนา

สาธารณรัฐไครเมีย

รณรัฐไครเมีย (Republic of Crimea; Респýблика Крым, Республіка Крим) (ตาตาร์ไครเมีย Къырым Джумхуриети) เป็นสาธารณรัฐที่ประกาศตนเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซีย ถือครองดินแดนส่วนใหญ่ของคาบสมุทรไครเมียในทะเลดำ ทางใต้ของประเทศยูเครน อธิปไตยเหนือดินแดนดังกล่าวยังพิพาทกันระหว่างประเทศยูเครนกับรัสเซีย สาธารณรัฐไครเมียก่อตั้งขึ้นจากผลแห่งการลงประชามติไครเมีย พ.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและสาธารณรัฐไครเมีย

สาธารณรัฐเซิร์ปสกา

* สาธารณรัฐเซิร์ปสกา (ซีริลลิก: Република Српскa Republic of Srpska; Republika Srpska; เซอร์เบีย, บอสเนีย, โครเอเชีย: Republika Srpska, Република Српскa) เป็นหนึ่งในหน่วยการเมืองสองส่วนอิสระที่ประกอบกันเป็นประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (อีกหน่วยหนึ่งคือสหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา) ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเซิร์บ รองลงไปเป็นชาวบอสนีแอกและชาวโครแอต.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและสาธารณรัฐเซิร์ปสกา

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและสีขาว

สีน้ำเงิน

ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและสีน้ำเงิน

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและสีแดง

ธงชาติรัสเซีย

งชาติสหพันธรัฐรัสเซีย มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 3 แถบ ความกว้างเท่ากัน เรียงเป็นสีขาว-น้ำเงิน-แดง จากบนลงล่างตามลำดับ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเป็นธงสำหรับเรือค้าขายและเรือรบ (ธงนาวี) และได้ประกาศใช้เป็นธงอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติรัสเซีย

ธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

งชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย เป็นธงแถบตามยาว สีนำเงิน, สีขาว, และสีแดง ธงชาติ และ ธงพาณิชย์ เป็นธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ (Pan-Slavic colours) ธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ ประกาศใช้ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก เมื่อปี พ.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

งชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย เป็นธงแถบตามยาว สีนำเงิน, สีขาว, และสีแดง ธงชาติ และ ธงพาณิชย์ เป็นธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ (Pan-Slavic colours) ธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ ประกาศใช้ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก เมื่อปี พ.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

ธงชาติสโลวาเกีย

งชาติสโลวาเกีย (Vlajka Slovenska) นับย้อนไปในปี พ.ศ. 2391 ซึ่งเป็นปีของการปฏิวัติในยุโรปและเป็นเวลาที่ชนเผ่าสลาฟได้กำหนดบทบาทของตนเองจากการปกครองของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และออกแบบธงชาติ 3 สี ขาว และแดงเป็นธงประจำชาติของตน สโลวาเกียได้ใช้ธงชาติ 3 สีโบกสะบัดเมื่อประเทศได้รับอิสรภาพ ต่อมาเมื่อแยกตัวออกจากเชโกสโลวาเกียในเดือนมกราคม..

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติสโลวาเกีย

ธงชาติสโลวีเนีย

งชาติสโลวีเนีย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1991 เป็นธงแถบสีขาว สีน้ำเงินและสีแดง ซึ่งเป็นสีกลุ่มชนสลาฟ เรียงจากบนลงล่าง ด้านใกล้คันธงมุมบนประดับด้วยตราแผ่นดินของสโลวีเนี.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติสโลวีเนีย

ธงชาติโครเอเชีย

งชาติโครเอเชีย มีลักษณะเป็นธงสามสี แบ่งแถบเป็น 3 ส่วน ตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน แต่ละแถบจากบนลงล่างเป็นสีแดง สีขาว และสีน้ำเงิน อันเป็นสีพันธมิตรสลาฟ ที่กลางธงมีรูปตราแผ่นดินของโครเอเชีย ซึ่งเป็นรูปโล่ลายตาหมากรุกสีแดงสลับขาวภายใต้มงกุฎ ธงสามสีนี้เดิมเคยใช้เป็นธงชาติโครเอเชียมาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติโครเอเชีย

ธงชาติเช็กเกีย

งชาติเช็กเกีย (Česká vlajka) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งครึ่งตามแนวนอน โดยครึ่งบนมีสีขาว ครึ่งล่างมีสีแดง ที่ด้านคันธงมีรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วสีน้ำเงิน โดยฐานของรูปนั้นอยู่ติดกับด้านคันธง ธงนี้เดิมเป็นธงชาติของประเทศเช็กโกสโลวาเกีย แต่เมื่อมีการแยกประเทศเช็กโกสโลวาเกียเป็นสาธารณรัฐเช็ก (เช็กเกีย) และสโลวาเกียในปี พ.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติเช็กเกีย

ธงชาติเซอร์เบีย

งชาติเซอร์เบีย เป็นธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ (Pan-Slavic colours) โดยแบ่งภายในเป็นแถบแนวนอน 3 ริ้ว มีสีแดงอยู่บนสุด สีน้ำเงินอยู่กลาง สีขาวอยู่ล่าง ธงดังกล่าวนี้ได้ปรากฏอยู่ในประวัติศาสตร์เซอร์เบียในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย และถือกันว่าเป็นธงชาติของชนชาวสลาฟทั้งมวล สำหรับธงที่ใช้ในราชการนั้นจะมีรูปตราอาร์มแผ่นดินอย่างย่อของเซอร์เบียอยู่ตรงกลาง โดยตำแหน่งของตรานั้นจะห่างจากด้านซ้ายของธง 1 ใน 7 ส่วนของความยาวธง ธงลักษณะข้างต้นนี้เดิมเคยใช้เป็นธงชาติของราชอาณาจักรเซอร์เบียตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติเซอร์เบีย

ธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

งชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2535 รูปแบบธงได้รับอิทธิพลจากสมัยสหพันธรัฐประชาธิปไตยยูโกสลาเวีย และได้นำกลับมาใช้อีกครั้ง หลังจากเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นสหพันธรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เมื่อปี พ.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ประเทศสโลวีเนีย

ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและประเทศสโลวีเนีย

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและประเทศเชโกสโลวาเกีย

โครงการกูเทนแบร์ก

รงการกูเทนแบร์ก (Project Gutenberg หรือเรียกชื่อย่อว่า PG) เป็นโครงการอาสาสมัครเพื่อการแปรงานทางวัฒนธรรมเช่นงานวรรณกรรมเป็นดิจิทัลเพื่อการเก็บรักษาและเผยแพร่แก่สาธารณชน โครงการกูเทนแบร์กก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.

ดู สีกลุ่มชนสลาฟและโครงการกูเทนแบร์ก

ดูเพิ่มเติม

ธัชวิทยา