โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สะพานไมล์เกลเชียร์

ดัชนี สะพานไมล์เกลเชียร์

นไมล์เกลเชียร์ หรือ สะพานล้านเหรียญ (Miles Glacier Bridge หรือ Million Dollar Bridge) เป็นสะพานที่สร้างขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ตั้งอยู่ห้าสิบไมล์จากคอร์โดวา, อะแลสกา เป็นสะพานหลายช่วงแบบ "Pennsylvania-truss" สะพานไมล์เกลเชียร์เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางรถไฟแม่น้ำคอพเพอร์และตะวันตกเฉียงเหนือที่ยาว 196 ไมล์ ที่สร้างขึ้นโดยเจพี มอร์แกน และ ตระกูลกุกเกนไฮม์เพื่อใช้ในการขนทองแดงจากเมืองเหมืองเก่าเคนนิคอทไปยังคอร์โดวา สะพานนี้ได้ชื่อว่า "สะพานล้านเหรียญ" เพราะค่าก่อสร้าง 1.4 ล้านเหรียญสหรัฐเป็นราคาที่เกินกว่าคุ้มเป็นอันมาก เพราะการใช้ในการขนทองแดงดิบจำนวนที่มีค่าราว 200 ล้านเหรียญสหรัฐได้.

4 ความสัมพันธ์: วอชิงตัน ดี.ซี.สะพานเหล็กกล้าเจ. พี. มอร์แกน

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สะพานไมล์เกลเชียร์และวอชิงตัน ดี.ซี. · ดูเพิ่มเติม »

สะพาน

น Akashi-Kaikyō ในญี่ปุ่นเป็นสะพานแขวนที่ยาวที่สุดในโลก สะพานจากท่อนซุง เชื่อมต่อเพื่อใช้ข้ามแม่น้ำ สะพาน คือโครงสร้างที่เชื่อมต่อระหว่างฝั่งสำหรับข้ามหุบเขา แม่น้ำ ถนน ทางรถไฟ หรือพื้นน้ำต่างๆ การออกแบบความสูงของสะพาน จะขึ้นอยู่กับสิ่งกีดขวางด้านล่าง รวมถึงการจราจรด้านล่าง (เช่น รถ เรือ สามารถผ่านได้) การก่อสร้างสะพานมีจุดประสงค์เพื่อให้การสัญจรมีการต่อเนื่องระหว่างทางที่มีการสร้างไว้แล้ว555.

ใหม่!!: สะพานไมล์เกลเชียร์และสะพาน · ดูเพิ่มเติม »

เหล็กกล้า

นเหล็ก สายเคเบิลที่ทำจากเหล็กกล้า เหล็กกล้า (steel) คือ เหล็ก (สัญลักษณ์ทางเคมี: Fe) ที่ผ่านกรรมวิธีเพิ่มสารอื่นๆเข้าไปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของเหล็กให้ดีขึ้น เป็นโลหะผสมที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเหล็กที่มีปริมาณคาร์บอนอยู่ระหว่าง 0.2 – 2.04% โดยน้ำหนักขึ้นกับคุณภาพ คาร์บอนเป็นวัสดุผสมที่ลดต้นทุนของเหล็กแต่ก็มีการใช้ธาตุอื่นๆ เช่น แมงกานีส โครเมียม วานาเดียม และทังสเตน คาร์บอนและธาตุอื่นๆเป็นตัวทำให้แข็ง การเปลี่ยนปริมาณธาตุที่ผสมในโลหะผสมที่พบในเหล็กกล้า มีส่วนในการควบคุมคุณภาพทั้งด้านความแข็ง การรีดเป็นแผ่นได้ และความตึงของเหล็กกล้าที่ได้ เหล็กกล้าที่มีคาร์บอนมากขึ้นจะแข็งแกร่งและมีความแข็งมากกว่าเหล็ก แต่จะเปราะ ค่าสูงสุดในการละลายของคาร์บอนในเหล็กเป็น 2.14% โดยน้ำหนัก เกิดขึ้นที่อุณหภูมิ 1149 องศาเซลเซียสในการอบใช้อุณหภูมิประมาณ950 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นที่สูงกว่านี้หรือหรืออุณหภูมิต่ำกว่านี้จะเกิดลักษณะเป็นซีเมนต์ โลหะผสมที่มีคาร์บอนมากจะเป็นเหล็กที่มีความแข็งมาก เพราะมีจุดหลอมเหลวต่ำ และมีความแข็ง เหล็กกล้าต่างจากเหล็กบริสุทธิ์ที่มีอะตอมของธาตุอื่นน้อยมาก แต่มีกากแร่ 1-3% โดยน้ำหนักในรูปของอนุภาคอยู่ในทิศทางหนึ่ง ซึ่งมีความทนทานกว่าเหล็กกล้า และโค้งงอง่ายกว่าแบ่งเป็น.

ใหม่!!: สะพานไมล์เกลเชียร์และเหล็กกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ. พี. มอร์แกน

อห์น เพียร์พอนต์ มอร์แกน (John Pierpont Morgan) เป็นนักการเงิน นายธนาคาร และนักสะสมงานศิลปะ ซึ่งมีอิทธิพลในวงการการเงินธุรกิจและการควบรวมบริษัทในระหว่างที่เขามีชีวิตอยู่ ในปี 1892 มอร์แกนดำเนินการควบรวมเอดิสันเจนเนอรัลอิเล็กทริกและทอมสัน-ฮุสตันอิเล็กทริก จนกลายเป็นเจนเนอรัลอิเล็กทริก หลังจากที่จัดหาทุนเพื่อสร้างเฟเดอรัลสตีลคัมพานี เขาควบรวมกิจการกับคาร์เนกีสตีลคัมพานีและบริษัทเหล็กอื่น ๆ ในปี 1901 ซึ่งรวมทั้งกลุ่มบริษัทเหล็กและลวดของวิลเลียม อีเดนบอร์นเพื่อก่อตั้งยูเอสสตีล มอร์แกนเสียชีวิตที่กรุงโรม อิตาลี ในปี 1913 เมื่ออายุได้ 75 ปี โดยทิ้งทรัพย์สมบัติและกิจการไว้ให้กั.

ใหม่!!: สะพานไมล์เกลเชียร์และเจ. พี. มอร์แกน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Miles Glacier Bridge

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »