สารบัญ
31 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2459พ.ศ. 2542พ.ศ. 2545พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกรมศิลปากรกรมทางหลวงชนบทกรมโยธาธิการและผังเมืองกรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานครและปริมณฑลราชวงศ์จักรีสะพานพระราม 6สะพานพระราม 7สะพานพระราม 8สะพานพระจุลจอมเกล้าสะพานพระปกเกล้าสะพานพระนั่งเกล้าสะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์อำเภอพุนพินอำเภอเมืองนนทบุรีอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์จังหวัดราชบุรีจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดนนทบุรีถนนนครอินทร์ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306แม่น้ำตาปีแม่น้ำแม่กลองแม่น้ำเจ้าพระยา1 พฤศจิกายน21 มิถุนายน
- สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
- สะพานในประเทศไทย
พ.ศ. 2459
ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2542
ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.
พ.ศ. 2545
ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู สะพานพระราม 5และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาจหมายถึง.
ดู สะพานพระราม 5และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
กรมศิลปากร
กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.
กรมทางหลวงชนบท
กรมทางหลวงชนบท (Department of Rural Roads) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 โดยบุคลากรโอนภารกิจมาจากกรมโยธาธิการและกรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท มีหน้าที่ในการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อสนับสนุนการคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว การพัฒนาชายแดน การพัฒนาเมืองอย่างบูรณาการและยั่งยืน แก้ไขปัญหาจราจรโดยสร้างทางเชื่อม ทางเลี่ยง และทางลัด รวมทั้งเป็นพี่เลี้ยงด้านการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่นให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
ดู สะพานพระราม 5และกรมทางหลวงชนบท
กรมโยธาธิการและผังเมือง
กรมโยธาธิการและผังเมือง (Department of Public Works and Town & Country Planning) เป็นหน่วยงานราชการสังกัดในกระทรวงมหาดไทย ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สะพานพระราม 5และกรมโยธาธิการและผังเมือง
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู สะพานพระราม 5และกรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (Bangkok Metropolitan Region)NESDB, Bangkok Metropolitan Region Study, 1985 เป็นเขตเมืองของกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่ตั้งอยู่โดยรอบ ("ปริมณฑล" หมายถึง วงรอบ) ครอบคลุมพื้นที่กว่า 7 พันตารางกิโลเมตร แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำท่าจีน มีประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎรรวมกันประมาณ 10 ล้านกว่าคน (เดือนธันวาคม พ.ศ.
ดู สะพานพระราม 5และกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ราชวงศ์จักรี
ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.
ดู สะพานพระราม 5และราชวงศ์จักรี
สะพานพระราม 6
นขนานสะพานพระราม 6 สะพานพระราม 6 (Rama VI Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมระหว่างแขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กับแขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร.
ดู สะพานพระราม 5และสะพานพระราม 6
สะพานพระราม 7
นพระราม 7 (Rama VII Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี กับแขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร สะพานพระราม 7 เป็นสะพานแบบคอนกรีตอัดแรงชนิดต่อเนื่อง มีจำนวนช่องทางรถวิ่ง 6 ช่องทางจราจร ความกว้างของสะพาน 29.10 เมตร และมีความยาว 934 เมตร สร้างเสร็จและเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.
ดู สะพานพระราม 5และสะพานพระราม 7
สะพานพระราม 8
นพระราม 8 (Rama VIII Bridge) เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงงานสุราบางยี่ขัน (สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขตบางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.
ดู สะพานพระราม 5และสะพานพระราม 8
สะพานพระจุลจอมเกล้า
นจุลจอมเกล้าในปัจจุบัน สะพานจุลจอมเกล้าหลังจากทหารฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิด สะพานพระจุลจอมเกล้า หรือสะพานสุราษฎร์ธานี เป็นสะพานสำคัญที่สุดในเส้นทางสายใต้ เป็นสะพานที่สร้างข้ามแม่น้ำตาปี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วยสะพานเหล็ก 3 ช่วง รวมความยาวของสะพานทั้งสิ้น 200 เมตร เปิดการเดินรถได้เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2496 เป็นสะพานรถไฟและรถยนต์ ภายหลังสร้างสะพานรถยนต์ขึ้นใหม่จึงใช้งานเป็นสะพานรถไฟเต็มรูปแ.
ดู สะพานพระราม 5และสะพานพระจุลจอมเกล้า
สะพานพระปกเกล้า
นพระปกเกล้า (Phra Pok Klao Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เชื่อมระหว่างถนนจักรเพชร ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร (ฝั่งพระนคร) กับถนนประชาธิปก ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ฝั่งธนบุรี เป็นสะพานคู่ขาไปและขากลับ สร้างเคียงข้างขนานกันกับสะพานพระพุทธยอดฟ้า เนื่องจากการจราจรบริเวณนั้นถึงจุดวิกฤต รัฐบาลจึงเห็นว่าควรมีสะพานอีกแห่งหนึ่งเพื่อช่วยระบายการจราจร โดยได้เว้นที่ช่วงกลางสะพานไว้สำหรับก่อสร้างรถไฟฟ้าลาวาลินด้วย ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.
ดู สะพานพระราม 5และสะพานพระปกเกล้า
สะพานพระนั่งเกล้า
link.
ดู สะพานพระราม 5และสะพานพระนั่งเกล้า
สะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์
นมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์ (Maha Chesadabodindranusorn Bridge) หรือที่เรียกกันติดปากว่า สะพานนนทบุรี 1 เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เชื่อมพื้นที่ตำบลสวนใหญ่ (ฝั่งตะวันออก) เข้ากับตำบลบางศรีเมือง (ฝั่งตะวันตก) โดยเริ่มต้นจากปลายสะพานทางแยกต่างระดับบนถนนนนทบุรี 1 ใกล้โรงเรียนศรีบุณยานนท์ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในท้องที่หมู่ที่ 2 ตำบลสวนใหญ่ ทางด้านใต้ของชุมชนตลาดขวัญและท่าเรือพิบูลสงคราม 4 โดยวางตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และขึ้นฝั่งตะวันตกบริเวณปากคลองอ้อมฝั่งใต้ ระหว่างศาลเจ้าพ่อหลักเมือง (เดิม) ที่อยู่ทางเหนือกับอุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษกที่อยู่ทางใต้ ในท้องที่หมู่ที่ 3 บ้านท่าน้ำนนท์ ตำบลบางศรีเมือง เส้นทางจากนั้นเป็นแนวถนนตัดใหม่ซึ่งมุ่งไปสู่ทางแยกต่างระดับที่ถนนราชพฤกษ.
ดู สะพานพระราม 5และสะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์
อำเภอพุนพิน
อำเภอพุนพิน ตั้งอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู สะพานพระราม 5และอำเภอพุนพิน
อำเภอเมืองนนทบุรี
มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.
ดู สะพานพระราม 5และอำเภอเมืองนนทบุรี
อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์
ริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) (ITALIAN-THAI DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY ชื่อย่อ: ITD) ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ทั้งภายในและภายนอกประเทศ รับงานการก่อสร้างตั้งแต่โครงการอาคารขนาดกลาง ประเภท อาคารสำนักงาน โรงแรม จนถึงโครงการขนาดใหญ่ ประเภทศูนย์การค้า ท่าอากาศยาน นอกจากนี้ยังดำเนินการก่อสร้างโครงการสาธารณูปโภคต่าง ๆ ได้แก่ ถนน สะพาน ทางรถไฟ ระบบ ทางด่วน รวมถึงโครงการวางท่อขนส่งน้ำมันและก๊าซ งานสร้างเขื่อนและโรงไฟฟ้า ซึ่งต้องใช้ความชำนาญและเทคโนโลยีระดับสูง แบบรายงาน 56-1 อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2555.
ดู สะพานพระราม 5และอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์
จังหวัดราชบุรี
ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.
ดู สะพานพระราม 5และจังหวัดราชบุรี
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.
ดู สะพานพระราม 5และจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จังหวัดนนทบุรี
ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..
ดู สะพานพระราม 5และจังหวัดนนทบุรี
ถนนนครอินทร์
นนนครอินทร์ (Thanon Nakhon In) หรือ ทางหลวงชนบท น.1020 สายนครอินทร์ เป็นเส้นทางการคมนาคมในพื้นที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี โดยเป็นถนนขนาด 10 ช่องทางจราจร มีเส้นทางเริ่มต้นที่แยกติวานนท์ ในอำเภอเมืองนนทบุรี ไปบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษกที่ทางแยกต่างระดับบางคูเวียงในอำเภอบางกรว.
ดู สะพานพระราม 5และถนนนครอินทร์
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 สายพระราม 7–บางพูน เป็นทางหลวงแผ่นดินที่ก่อสร้างเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันออก โดยเริ่มต้นตั้งแต่ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เข้าเขตจังหวัดนนทบุรี ผ่านท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด เข้าสู่เขตจังหวัดปทุมธานี มีขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง.
ดู สะพานพระราม 5และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306
แม่น้ำตาปี
แม่น้ำตาปี ช่วงที่ไหลผ่านเมืองสุราษฎร์ธานี แม่น้ำตาปี ช่วงที่ไหลผ่าน อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช แม่น้ำตาปี เป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่สุดในภาคใต้ของประเทศไทย มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหลวง อำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช และไหลสู่อ่าวไทยที่อ่าวบ้านดอน อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี นักปราชญ์ชาวกรีกนามว่าปโตเลมี ได้กล่าวถึง แม่น้ำอัตตาบาส์ ซึ่งหมายถึง แม่น้ำตาปี.
แม่น้ำแม่กลอง
แม่น้ำแม่กลอง ขณะไหลผ่านจังหวัดสมุทรสงคราม แม่น้ำแม่กลอง เป็นแม่น้ำสำคัญสายหนึ่งในภาคตะวันตก เกิดจากแม่น้ำแควใหญ่และแควน้อย ไหลมาบรรจบกันที่ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ไหลผ่านจังหวัดราชบุรี สมุทรสงคราม และไหลลงสู่ปากอ่าวไทยที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม มีความยาวประมาณ 132 กิโลเมตร พื้นที่รับน้ำที่ปากแม่น้ำแม่กลอง 30,106 ตารางกิโลเมตร โดยช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดราชบุรี ได้อีกชื่อหนึ่งว่า "แม่น้ำราชบุรี" มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 30,837 ตร.กม.
ดู สะพานพระราม 5และแม่น้ำแม่กลอง
แม่น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.
ดู สะพานพระราม 5และแม่น้ำเจ้าพระยา
1 พฤศจิกายน
วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.
ดู สะพานพระราม 5และ1 พฤศจิกายน
21 มิถุนายน
วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.
ดู สะพานพระราม 5และ21 มิถุนายน
ดูเพิ่มเติม
สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
- รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
- สะพานกรุงธน
- สะพานกรุงเทพ
- สะพานกาญจนาภิเษก
- สะพานนนทบุรี
- สะพานพระนั่งเกล้า
- สะพานพระปกเกล้า
- สะพานพระพุทธยอดฟ้า
- สะพานพระราม 3
- สะพานพระราม 4
- สะพานพระราม 5
- สะพานพระราม 6
- สะพานพระราม 7
- สะพานพระราม 8
- สะพานพระราม 9
- สะพานภูมิพล
- สะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์
- สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า
- สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สะพานในประเทศไทย
- รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
- รายชื่อสะพานในประเทศไทย
- สะพานนนทบุรี
- สะพานปรีดี-ธำรง
- สะพานพระนั่งเกล้า
- สะพานพระราม 4
- สะพานพระราม 5
- สะพานพระราม 7
- สะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์
- สะพานมิตรภาพ (ไทย–พม่า)
- สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 (หนองคาย–เวียงจันทน์)
- สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 2 (มุกดาหาร–สะหวันนะเขต)
- สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 3 (นครพนม–คำม่วน)
- สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 4 (เชียงของ–ห้วยทราย)
- สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ)
- สะพานรัษฎาภิเศก
- สะพานสารสิน
- สะพานอุตตมานุสรณ์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สะพานพระราม ๕สะพานพระราม5