โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม

ดัชนี สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 2 (Léopold Louis Philippe Marie Victor, Leopold Lodewijk Filips Maria Victor, 9 เมษายน ค.ศ. 1835 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1909) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเบลเยียม ประสูติในกรุงบรัสเซลส์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สอง (แต่มีพระชนมายุมากที่สุดที่ยังมีพระชนม์ชีพ) ของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 1 และหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง พระองค์สืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

44 ความสัมพันธ์: บรัสเซลส์บริษัทโฮลดิ้งพ.ศ. 2378พ.ศ. 2383พ.ศ. 2396พ.ศ. 2398พ.ศ. 2408พ.ศ. 2411พ.ศ. 2445พ.ศ. 2452พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปนพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียมการเกณฑ์ทหารมารี เฮนรีทเทอแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมมารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสราชอาณาจักรคองโกรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมลาเคินสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปนสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียมสหรัฐสาธารณรัฐคองโก (เลออปอลวีล)สาธารณรัฐซาอีร์สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกหลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็องหลุยส์ มารี อาเดลาอีด เดอ บูร์บงหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมอนาธิปไตยจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาทวีปแอฟริกาดยุกแห่งบราบันต์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาประเทศฟิลิปปินส์ประเทศเบลเยียมเบลเจียนคองโกเสรีรัฐคองโกเจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงหลุยส์แห่งเบลเยียม15 พฤศจิกายน17 ธันวาคม9 เมษายน

บรัสเซลส์

รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและบรัสเซลส์ · ดูเพิ่มเติม »

บริษัทโฮลดิ้ง

ริษัทโฮลดิ้ง (Holding company) หมายถึง บริษัทที่มีการประกอบธุรกิจโดยมีรายได้จากการถือหุ้นในบริษัทอื่นเป็นหลัก และไม่มีการประกอบธุรกิจอย่างมีนัยสำคัญเป็นของตนเอง ซึ่งอาจเป็นการลงทุนในบริษัทในประเทศหรือบริษัทในต่างประเทศ โดยต้องไม่มีลักษณะเป็นการประกอบธุรกิจบริหารจัดการเงินลงทุน (Investment Company) โดยบริษัทโฮลดิ้งจะถือหุ้นหรือหลักทรัพย์ทั้งหมดหรือมากกว่าร้อยละ 50 ของบริษัทอื่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการควบคุมยิ่งกว่าเพื่อการลงทุน บริษัทที่จัดตั้งขึ้นเพื่อควบคุมดูแลบริษัทอื่นโดยเฉพาะจัดว่าเป็นบริษัทผู้ถือหุ้นอย่างแท้จริง (Pure Holding Company) ส่วนบริษัทที่ทำธุรกิจของตนเองพร้อมกับดูแลบริษัทอื่นด้วยเรียกว่า บริษัทผู้ถือหุ้นแบบผสม (Mixed Holding Company or Holding-operating Company).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและบริษัทโฮลดิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2378

ทธศักราช 2378 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1835.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2378 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2383

ทธศักราช 2383 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1840.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2383 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2396

ทธศักราช 2396 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1853.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2396 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2398

ทธศักราช 2398 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1855.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2398 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2408

ทธศักราช 2408 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1865.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2408 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน

ระวังสับสนกับ จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้ปกครองสเปนในช่วงเวลาสั้นๆในช่วงสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน ในฐานะ ชาร์ลส์ที่ 3 พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน หรือสำเนียงภาษาอังกฤษ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 (สเปน;การ์โลส, อิตาลี; การ์โล; 20 มกราคม ค.ศ. 1716 - 14 ธันวาคม ค.ศ. 1788 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนและชาวสเปนระหว่างปี 1759 - 1788 ทรงเป็นพระโอรสพระองค์ที่ห้าในพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน กับพระมเหสีพระองค์ที่สองเอลิซาเบธ ฟาร์เนเซ ในปี 1731 เจ้าชายการ์โลสพระชนมายุ 15 ชันษาได้กลายเป็นดยุคแห่งปาร์มาและปิอาเซนซา ในฐานะชาร์ลส์ที่ 1 หลังจากการสวรรคตของแอนโตนิโอ ฟาร์เนส ผู้เป็นพระปิตุลา ในปี 1734 ในฐานะดยุกแห่งปาร์มา ทรงได้รับชัยชนะในสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ ทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเนเปิลส์และซิซิลี ในปี 1735 ในฐานะ ชาร์ลส์ที่ 7 แห่งเนเปิลส์ และ ชาร์ลส์ที่ 5 แห่งซิซิลี ในปี 1738 ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียแห่งแซกโซนี มีพระราชโอรสและธิดารวมทั้งสิ้น 13 พระองค์ พระเจ้าการ์โลสและมาเรีย อเมเลียทรงประทับอยู่ที่เนเปิลส์เป็นเวลา 19 ปี จนพระนางมาเรีย เมเลียสิ้นพระชนม์ในปี 1760 เมื่อเสด็จเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนในวันที่ 10 สิงหาคม 1759 เป็นช่วงเวลาที่พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม โดยในวันที่ 6 ตุลาคม 1759 ทรงสละราชบัลลังก์เนเปิลส์และซิซิลีให้อินฟันเตเฟอร์ดินานด์ พระโอรสพระองค์ที่สามผู้ทรงโปรดปรานโดยได้เสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งซิซิลีทั้งสอง ในฐานะกษัตริย์แห่งสเปน พระเจ้าการ์โลสที่ 3 ทรงเป็นหนึ่งกษัตริย์ผู้ได้รับอิทธิพลจากยุคเรืองปัญญา โดยทรงมีความพยายามที่จะช่วยเหลืออาณาจักรของพระองค์ที่กำลังเสื่อมสลายถึงการปฏิรูปที่อ่อนตัวลง เช่น คริสตจักรและพระราชวงศ์ ในการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้า การพานิชย์ และการเกษตรที่ทันสมัยและการหลีกเลี่ยงสงคราม ทรงไม่ประสบความสำเร็จในระดับที่น่าพอใจกับการควบคุมเงินและถูกบังคับให้ยืมเงินเพื่อสนองค่าใช้จ่าย ทำให้การปฏิรูปของพระองค์ได้รับการพิสูจน์ในระยะสั้นว่าหลังการสวรรคตของพระองค์การเปลี่ยนแปลงของพระองค์เห็นผล แต่พระราชมรดกของพระองค์ยังคงหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์สแตนเลย์แพนรัฐการ์โลสที่ 3 ได้กล่าวว่า "อาจจะเป็นผู้ปกครองในยุโรปที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในรัชสมัยของพระองค์ ทรงทำให้ความสอดคล้องความเป็นผู้นำที่ชาญฉลาด โดยทรงเลือกรัฐมนตรีที่มีความสามารถ...ชีวิตส่วนพระองค์ได้รับการยอมรับนับถือของประชาชน" หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สเปน หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:เจ้าชายสเปน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (Louis-Philippe Ier; Louis-Philippe of France) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2316 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2393) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวฝรั่งเศส (King of the French) ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2373 ถึง 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 รวม 18 ปี ต่อจากการสละราชสมบัติของพระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักของประชาชนในนาม "พระมหากษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม" โดยพระองค์ก็ถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปีค.ศ. 1830 และเสด็จไปลี้ภัยที่ประเทศอังกฤษจนสิ้นพระชนม์ชีพ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งฝรั่งเศส (ถ้าไม่นับรวมจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ซึ่งอยู่ในฐานะจักรพรรดิ).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม

ระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม (Léopold Georges Chrétien Frédéric, Leopold Georg Christian Friedrich; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1790 – 10 ธันวาคม ค.ศ. 1865) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม พระองค์แรกโดยมีพระอิสริยยศเป็น "พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม" (King of the Belgians) ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1831 ภายหลังจากการได้รับอิสรภาพจากเนเธอร์แลนด์ พระองค์ทรงเป็นต้นสายของพระราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายเบลเยียม พระโอรสและธิดาของพระองค์รวมถึงสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม และจักรพรรดินีคาร์ลอตตาแห่งเม็กซิโก พระองค์ยังเป็นพระปิตุจฉา (ลุง) และที่ปรึกษาสำคัญของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์พระราชสมภพที่โคบูรก์ และสวรรคตที่ลาเคน โดยพระอิสริยยศเมื่อพระราชสมภพคือ เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบูรก์-ซาลเฟลด์ และต่อมาเป็น เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา และดยุกแห่งแซกโซนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

การเกณฑ์ทหาร

ม่มีข้อมูล การเกณฑ์ (conscription) เป็นการรับสมัครบุคคลโดยบังคับในราชการบางอย่างของชาติ ซึ่งเป็นราชการทหารมากที่สุด การเกณฑ์มีมาแต่โบราณ และปัจจุบันยังคงอยู่ในบางประเทศโดยมีชื่อหลากหลาย ระบบการเกณฑ์ชายหนุ่มแทบทุกคน (near-universal) ทั่วประเทศสมัยใหม่มีมาแต่การปฏิวัติฝรั่งเศสในคริสต์ทศวรรษ 1790 ซึ่งการเกณฑ์ทหารได้กลายมาเป็นพื้นฐานของกองทัพขนาดใหญ่และทรงพลัง ภายหลังชาติยุโรปส่วนมากลอกระบบดังกล่าวในยามสงบ ฉะนั้นชายที่มีอายุตามกำหนดต้องรับราชการ 1–8 ปีในกองประจำการ แล้วจึงโอนไปกองเกิน การเกณฑ์ทหารเป็นที่ถกเถียงกันด้วยหลายเหตุผล รวมทั้งการคัดค้านการสู้รบโดยอ้างมโนธรรมบนเหตุผลด้านศาสนาหรือปรัชญา การคัดค้านทางการเมือง ตัวอย่างเช่น การรับราชการรัฐบาลหรือสงครามซึ่งไม่เป็นที่นิยม และการคัดค้านทางอุดมการณ์ ตัวอย่างเช่น เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลที่รับรู้ บางครั้งผู้ถูกเกณฑ์ทหารอาจหลบเลี่ยงราชการโดยการออกนอกประเทศ ระบบการคัดเลือกบางระบบปรับให้เข้ากับทัศนคติเหล่านี้โดยการจัดราชการทางเลือกที่ไม่ใช่บทบาทปฏิบัติการรบหรือไม่ใช่ทหารอย่างสิ้นเชิง เช่น ซีวิลดีนสท์ (ราชการพลเรือน) ในประเทศออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์ ประเทศที่แยกออกจากสหภาพโซเวียตส่วนมากเกณฑ์ทหารไม่เพียงเข้ากองทัพเท่านั้น แต่รวมถึงองค์การกึ่งทหารซึ่งมีหน้าที่ในราชการเฉพาะในประเทศคล้ายตำรวจ (หน่วยทหารภายใน) หรือหน้าที่กู้ภัย (หน่วยป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน) ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ไม่ถือว่าเป็นทางเลือกของการเกณฑ์ทหาร ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 หลายประเทศไม่เกณฑ์ทหารอีกต่อไป แต่อาศัยทหารอาชีพที่มาจากอาสาสมัครที่ได้รับสมัครตามความต้องการกำลังพล อย่างไรก็ดี หลายรัฐที่ได้ยกเลิกการเกณฑ์ทหารไปแล้วยังสงวนอำนาจที่จะรื้อฟื้นการเกณฑ์ทหารในยามสงครามหรือเกิดวิกฤตการณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและการเกณฑ์ทหาร · ดูเพิ่มเติม »

มารี เฮนรีทเทอแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

มารี เฮนเรียตเทอแห่งออสเตรีย (พระนามเดิม มารี เฮนเรียตเทอ อันเนอ, ประสูติเมื่อ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1836 สวรรคตเมื่อ 19 กันยายน ค.ศ. 1902) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระอัครมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยียม พระมหากษัตริย์พระองค์ที่สองแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม พระองค์ทรงเป็นพระธิดาของอาร์ชดยุกโจเซฟแห่งออสเตรีย กับดัชเชสมาเรียโดโรเธอาแห่งเวือร์ทเทมแบร์ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและมารี เฮนรีทเทอแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

มารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

มเด็จพระราชินีมาเรีย อเมเรีย แห่งทูซิชิลี สมเด็จพระราชินีมาเรีย อมาเลียแห่งทูซิชิลี ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ในพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและมารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรคองโก

อาณาจักรแห่งคองโก (คองโก: Kongo dya Ntotila หรือ Wene wa Kongo หรือโปรตุเกส: Reino do Kongo) เป็นอาณาจักรแอฟริกันอยู่ในภาคตะวันตกตอนกลางของแอฟริกาในตอนนี้ทางตอนเหนือของแองโกลา, คาบินลา, สาธารณรัฐคองโกและตะวันตกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก. เช่นเดียวกับส่วนใต้สุดของประเทศกาบอง. ในขอบเขตที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของมันก็เข้าถึงได้จากมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตกไปถึงแม่น้ำกวันโกอยู่ทางทิศตะวันออก และจากแม่น้ำคองโกในทิศตะวันตกเฉียงเหนือไปยังแม่น้ำหน้าแรกในภาคใต้ ราชอาณาจักรประกอบด้วยจังหวัดหลักหลายปกครองโดยมานิคองโก, ภายหลังโปรตุเกสชื่อคองโก 'อึมเวเน คองโก' หมายถึงพระเจ้าหรือผู้ปกครองของอาณาจักรคองโก แต่อิทธิพลขยายไปยังสหราชอาณาจักรที่อยู่ใกล้เคียงเช่นโงโย, คาคองโก, นดองโกและมาตามบา. ราชอาณาจักรในช่วงปี 1390-1891 อยู่ในฐานะรัฐอิสระและ 1891-1914 อยู่ในฐานะเป็นรัฐอารักขาของราชอาณาจักรโปรตุเกส, ด้วยความพ่ายแพ้โปรตุเกสในปี 1914 การจลาจลที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกระบอบกษัตริย์และการผนวกของดินแดนที่เหลือเป็น อาณานิคมของแองโกลา หมวดหมู่:ราชาธิปไตยในอดีต.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและราชอาณาจักรคองโก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม

ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ลาเคิน

ลาเคิน (Laeken) เขียนและอ่านในภาษาฝรั่งเศสว่า) หรือ Laken (ออกเสียงในภาษาดัตช์) เป็นบริเวณเขตที่อยู่อาศัยบริเวณชานเมืองทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงบรัสเซลส์ในประเทศเบลเยียม ลาเคินนั้นอยู่ในเขตปกครองของเทศบาลเมืองบรัสเซลส์ (Municipality of the City of Brussels) โดยใช้รหัสไปรษณีย์ว่า B-1020 ก่อนหน้าปีค.ศ. 1921 ลาเคินนั้นอยู่ในเขตต่างพื้นที่ปกครองของเทศบาล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและลาเคิน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน

มเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน (Isabel II de España) (10 ตุลาคม 1830 - 10 เมษายน 1904) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถพระองค์เดียวของสเปน พระนางเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเฟร์นันโด และสมเด็จพระราชินีมาเรีย คริสตีน่า พระนางปกครองสเปนต่อจากพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 7 พระราชบิดา หลังจากนั้นพระนางก็ทรงถูกถอดจากราชสมบัติในการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์เมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 (8 เมษายน ค.ศ. 1875 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมตั้งแต่ปีค.ศ. 1909 ถึงค.ศ. 1934 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศเบลเยียมเนื่องจากอยู่ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914 - 1918) เมื่อประเทศเบลเยียมเกือบทั้งหมดถูกบุกรุก ยึดครอง และปกครองโดยจักรวรรดิเยอรมัน นอกจากนั้นยังมีอีกเหตุการณ์สำคัญอื่นๆ คือ การร่วมลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย, การปกครองเบลเยียมคองโกเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเบลเยียม การปฏิรูปประเทศภายหลังสงคราม และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (ค.ศ. 1929 - 1934) สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 เสด็จสวรรคตเนื่องจากทรงประสบอุบัติเหตุจากการปีนเขาในภาคตะวันออกของเบลเยียมในปีค.ศ. 1934 มีพระชนมายุ 58 พรรษา ราชสมบัติจึงตกเป็นของพระโอรสพระองค์ใหญ่ คือ เจ้าชายเลโอโปล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคองโก (เลออปอลวีล)

รณรัฐคองโก (République du Congo) คือประเทศสาธารณรัฐที่ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการได้รับอิสรภาพจากการเป็นอาณานิคมของเบลเยียม (เบลเจียนคองโก) ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและสาธารณรัฐคองโก (เลออปอลวีล) · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซาอีร์

ซาอีร์ (Zaire) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐซาอีร์ (République du Zaïre) เป็นชื่อรัฐระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและสาธารณรัฐซาอีร์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

รณรัฐประชาธิปไตยคองโก (République Démocratique du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก (Congo) และ คองโก-กินชาซา (Congo-Kinshasa) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกากลางและเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของทวีป สาธารณรัฐประชาธิปไตยมีอาณาเขตจรดสาธารณรัฐแอฟริกากลางและซูดานทางทิศเหนือ จรดยูกันดา รวันดา บุรุนดี และแทนซาเนียทางทิศตะวันออก จรดแซมเบียและแองโกลาทางทิศใต้ และจรดสาธารณรัฐคองโกทางทิศตะวันตก โดยมีทางออกสู่ทะเลตามแม่น้ำคองโกไปสู่อ่าวกินี ชื่อ คองโก (หมายถึง "นักล่า") มาจากกลุ่มชาติพันธุ์บาคองโก (Bakongo) ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำคองโก ในอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเคยเป็นอาณานิคมของเบลเยียม โดยมีชื่อว่า เบลเจียน คองโก (Belgian Congo) ในปี พ.ศ. 2514 หลังจากได้รับเอกราช 11 ปี ก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศจากคองโก-กินชาซา (ใส่ชื่อเมืองหลวงไว้ข้างหลัง เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างประเทศนี้กับ สาธารณรัฐคองโก หรือ (คองโก-บราซาวีล) เป็นสาธารณรัฐซาอีร์ จนถึงปี พ.ศ. 2540 จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น "คองโก" ตามเดิม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกต้องเผชิญกับความทุกข์ยากอย่างใหญ่หลวงจากสงครามคองโกครั้งที่ 2 (Second Congo War) อันเป็นความขัดแย้งที่ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า "สงครามโลกแอฟริกา" (African World War).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง

หลุยส์ ฟีลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง (Louis Philippe II, Duke of Orléans หรือ Louis Philippe Joseph d'Orléans) (13 เมษายน ค.ศ. 1747 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1793) หลุยส์ ฟีลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง ผู้เป็นดยุกแห่งออร์เลอ็ององค์ที่ 5 เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศสของสายย่อยของราชวงศ์บูร์บงซึ่งเป็นราชวงศ์ที่ครองฝรั่งเศสอยู่ในขณะนั้น หลุยส์ ฟีลิปเป็นผู้สนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสอย่างขันแข็งและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “ฟีลิป เอกาลีเต” (Philippe Égalité) แต่กระนั้นก็ยังตกเป็นเหยื่อของการถูกประหารชีวิตโดยกิโยตีนระหว่างสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ลูกชายของหลุยส์ ฟิลิปป์ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสหลังจากการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและหลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ มารี อาเดลาอีด เดอ บูร์บง

หลุยส์ มารี อาเดลาอีด เดอ บูร์บง ดัชเชสแห่งออร์เลอ็อง (Louise Marie Adélaïde de Bourbon, duchesse d'Orléans; 13 มีนาคม ค.ศ. 1753 - 23 มิถุนายน ค.ศ. 1821) เป็นภรรยาของผู้ถูก "สำเร็จโทษ" ฟีลิป เอกาลีเต และเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส หลุยส์ มารี อาเดลาอีดเป็นบุตรีของหลุยส์ ฌ็อง มารี เดอ บูร์บง ดุ๊กแห่งป็องเตียฟวร์ และมารีอา เตเรซา เดสเตแห่งโมเดนา หลังจากการเสียชีวิตของพี่ชาย หลุยส์ อาแล็กซ็องดร์ เดอ บูร์บง หลุยส์ มารี อาเดลาอีดก็กลายเป็นทายาทที่มั่งคั่งที่สุดในฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติ หลุยส์ มารี อาเดลาอีดเป็นพี่สะใภ้ของเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งซาวอย และมีความสัมพันธ์อันดีกับมารี อ็องตัวแน็ต และเป็นผู้อุปถัมภ์คนแรก ๆ ของเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง หลุยส์ มารี อาเดลาอีดเป็นสมาชิกคนสุดท้ายของตระกูลบูร์บง-ป็องเตียฟวร์ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2296 หมวดหมู่:ขุนนางฝรั่งเศส หมวดหมู่:ราชวงศ์ออร์เลอ็อง หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมวดหมู่:ดยุกแห่งออร์เลอ็อง หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและหลุยส์ มารี อาเดลาอีด เดอ บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

หลุยส์แห่งออร์เลอ็อง (พระนามเต็ม: หลุยส์ มารี เตแรซ ชาร์ล็อต อิซาแบล, ประสูติ: 3 เมษายน ค.ศ. 1812, สวรรคต: 11 ตุลาคม ค.ศ. 1850) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งออร์เลอ็อง และสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระอัครมเหสีพระองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์เบลเยียม พระองค์ทรงเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ของเบลเยียมพระองค์ปัจจุบัน สมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิป, ผู้อ้างสิทธิในบัลลังก์อิตาลี (เจ้าชายแห่งเนเปิลส์), แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าชายชาร์ล นโปเลียน ประมุของค์ปัจจุบันของราชวงศ์โบนาปาร์ต.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

อนาธิปไตย

อนาธิปไตย (anarchism) โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นปรัชญาการเมืองซึ่งถือว่ารัฐนั้นเป็นสิ่งไม่พึงปรารถนา ไม่จำเป็นและให้โทษ หรืออีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการคัดค้านผู้มีอำนาจและองค์การมีลำดับชั้นบังคับบัญชาในการชี้นำความสัมพันธ์ของมนุษย์ ผู้เสนออนาธิปไตย หรือรู้จักกันว่า "ผู้นิยมลัทธิอนาธิปไตย" (anarchist) สนับสนุนสังคมที่ปราศจากรัฐโดยตั้งอยู่บนการรวมกลุ่มอย่างสมัครใจที่ไม่มีลำดับชั้น เสรีภาพของปัจเจกชนและการต่อต้านรัฐ คือหลักการที่ชัดเจนของลัทธิอนาธิปไตย สำหรับในเรื่องอื่น ๆ นั้นอาจมีความเห็นที่แตกต่างกันบ้างในหมู่ผู้ที่นิยมแนวคิดนี้ เช่น การใช้ความรุนแรงในการเปลี่ยนแปลงสังคม ชนิดของระบอบเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีและลำดับชั้น การตีความหมายของแนวคิดเกี่ยวกับความสมภาค (egalitarian) และระดับของการจัดองค์กร คำว่า "อนาธิปไตย" ในความหมายที่นักอนาธิปไตยใช้นั้น มิได้หมายถึงภาวะยุ่งเหยิงหรืออโนมี แต่เป็นรูปแบบของความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่เสมอภาค ที่ถูกจัดตั้งขึ้นและรักษาอย่างจงใจ หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและอนาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และแกรนด์ดยุกแห่งทัสกานี แต่ทว่าตลอดรัชสมัยของพระองค์ ผู้ที่กุมอำนาจการปกครองที่แท้จริงกลับเป็นพระมเหสีของพระองค์ คือจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 ทรงเป็นองค์ปฐมวงศ์ของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอแรน ทรงเป็นดยุกแห่งลอแรนในปี 1728 จนกระทั่งราชวงศ์ลอแลนถูกควบคุมโดยฝรั่งเศสภายใต้เงื่อนไขจากผลของสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ ทำให้ดยุกฟรันซ์และพระราชวงศ์ลอแรนจึงไปปกครองทัสกานีแทนตามสนธิสัญญาสันติภาพและสงครามจึงสิ้นสุดลง ภายหลังพระองค์ขึ้นปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชวงศ์ของพระองค์ก็ได้กลับไปครองลอแรนอีกครั้ง โดยให้เจ้าชายชาร์ล อเล็กซานเดอร์ พระอนุชาของพระองค์ไปปกครอง นอกจากนี้พระองค์ยังทรงเป็นพระสัสสุระในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งบราบันต์

กแห่งบราบันต์ หรือ ดยุกแห่งบราบ็อง (Duke of Brabant) เป็นบรรดาศักดิ์ที่จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงสถาปนาให้แก่อ็องที่ 1 โอรสของก็อดฟรีที่ 3 เคานต์แห่งลูแวง (ซึ่งเป็นดยุกแห่งโลธารินเจีย อีกบรรดาศักดิ์หนึ่งด้วย) ซึ่งดัชชีบราบันต์นั้นถูกสถาปนาขึ้นราวปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและดยุกแห่งบราบันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เบลเจียนคองโก

ลเจียนคองโก (Belgian Congo; Congo Belge; ดัตช์) เป็นชื่อทางการในอดีตของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (DRC) ในปัจจุบัน เป็นช่วงระหว่างที่พระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมทรงปลดปล่อยการควบคุมดินแดนในฐานะดินแดนส่วนพระองค์ให้กับราชอาณาจักรเบลเยียมเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและเบลเจียนคองโก · ดูเพิ่มเติม »

เสรีรัฐคองโก

รีรัฐคองโก (Congo Free State; État indépendant du Congo) เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ในแอฟริกากลาง ซึ่งอยู่ในการครอบครองส่วนพระองค์ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม มีกำเนิดจากการหนุนหลังทางวิทยาศาสตร์และมนุษยธรรมที่น่าดึงดูดแก่องค์การพัฒนาเอกชน สมาคมแอฟริกานานาชาติ (Association internationale africaine, AIA) ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 พระองค์ทรงกระชับการควบคุมลุ่มน้ำคองโกส่วนมากผ่าน AIA และองค์การสืบเนื่องทั้งหลาย องค์การสุดท้าย คือ สมาคมคองโกนานาชาติ (Association internationale du Congo, AIC) เป็นเครื่องมือส่วนพระองค์ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 เนื่องจากทรงเป็นผู้ถือหุ้นแต่พระองค์เดียวและประธาน พระองค์จึงได้ใช้องค์การเพื่อรวบรวมและขายงา ยางและแร่เพิ่มขึ้นในลุ่มน้ำคองโกตอนบน แม้องค์การดังกล่าวจะถูกจัดตั้งขึ้นบนความเข้าใจว่าวัตถุประสงค์คือ เพื่อยกระดับประชาชนท้องถิ่นและพัฒนาพื้นที่ พระองค์ให้นามเสรีรัฐคองโกแก่ AIC ใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและเสรีรัฐคองโก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์

้าชายเลโอโปลด์แห่งเบลเยียม ดยุกแห่งบราบันต์ เคานท์แห่งแอโน (Prince Leopold of Belgium, Duke of Brabant, Count of Hainaut) (12 มิถุนายน ค.ศ. 1859 - 12 มิถุนายน ค.ศ. 1859) เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 และรัชทายาทพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยียมกับสมเด็จพระราชินีมารี เฮนเรียตแห่งออสเตรีย เลโอโปลด์เป็นพระนามเดียวกันกับพระอัยกาของพระองค์ และพระญาติของพระราชบิดา เจ้าชายเฟอร์ดินานด์แห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม

้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม (Princess Stéphanie of Belgium, Crown Princess of Austria-Hungary, Prinzessin Stephanie von Belgien, Kronprinzessin von Österreich-Ungarn.) (พระนามเต็ม: สเตฟานี่ คลอทิลด์ หลุยส์ เฮอร์มีนี่ มารี ชาร์ลอต, Stéphanie Clotilde Louise Herminie Marie Charlotte von Habsburg-Lothringen (ราชสกุลเดิม Saxe-Coburg and Gotha)) ทรงเป็นเจ้าฟ้าหญิงแห่งเบลเยียม เจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี นอกจากนี้ ยังเป็นพระชายาในอาร์ชดยุกรูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการีด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเบลเยียม

้าหญิงหลุยส์แห่งเบลเยียม พระธิดาพระองค์ใหญ่และพระองค์เดียวใน เจ้าชายโลร็องแห่งเบลเยียม กับ พระชายา เจ้าหญิงแคลร์แห่งเบลเยียม เป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และ สมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม ทรงอยู่ในลำกับที่ 12 ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์เบลเยียม ต่อจาพร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงหลุยส์แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและ17 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมและ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโพลด์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยียม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »