โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ดัชนี สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร่างรัฐธรรมนูญ..

54 ความสัมพันธ์: ชาลี กางอิ่มชาติชาย เจียมศรีพงษ์พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพลเอกพิสิฐ ลี้อาธรรมพิเชียร อำนาจวรประเสริฐกล้านรงค์ จันทิกกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์การุณ ใสงามกนก โตสุรัตน์ภาคกลาง (ประเทศไทย)ภาคอีสาน (ประเทศไทย)ภาคใต้ (ประเทศไทย)ภาคเหนือ (ประเทศไทย)รองศาสตราจารย์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550วรากรณ์ สามโกเศศวิชา มหาคุณศรีราชา วงศารยางกูรศาสตราจารย์สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550สมัชชาแห่งชาติไทยสมคิด เลิศไพฑูรย์สวัสดิ์ โชติพานิชสุพจน์ ไข่มุกด์สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัยสุนทร จันทร์รังสีสดศรี สัตยธรรมสนธิ บุญยรัตกลินอภิชาติ ดำดีอัครวิทย์ สุมาวงศ์อังคณา นีละไพจิตรผู้ช่วยศาสตราจารย์จรัญ ภักดีธนากุลจรัส สุวรรณมาลาธงทอง จันทรางศุคมสัน โพธิ์คงคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติประพันธ์ นัยโกวิทประสงค์ สุ่นศิรินรนิติ เศรษฐบุตรนุรักษ์ มาประณีตเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรมเสรี สุวรรณภานนท์เจิมศักดิ์ ปิ่นทองเดโช สวนานนท์...1 กุมภาพันธ์1 มกราคม1 มีนาคม27 ธันวาคม ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

ชาลี กางอิ่ม

ลี กางอิ่ม (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2485) เป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลนครตรัง.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และชาลี กางอิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย เจียมศรีพงษ์

ติชาย เจียมศรีพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตร 6 สมัย เจ้าของสโลแกน "พบง่าย ใช้คล่อง ต้องชาติชาย" ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธาน สโมสรฟุตบอลจังหวัดพิจิตร พิจิตร เอฟซี ฉายา พระยาชาละวัน ทีมในโซนภาคเหนือ ของ เอไอเอส ลีกภูมิภาค ลีก ดิวิชั่น 2 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และชาติชาย เจียมศรีพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พลเอก

ลเอก (General officer) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก และในกองทัพเรือและกองทัพอากาศสำหรับบางประเทศ คำว่า "General" หรือ "นายพล" ถูกนำมาใช้ได้สองแบบ คือ โดยทั่วไปหมายถึงนายทหารชั้นยศนายพลทั้งหมดตั้งแต่ พลจัตวา ถึง พลเอก และใช้เฉพาะเจาะจงหมายถึงยศพลเอก.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และพลเอก · ดูเพิ่มเติม »

พิสิฐ ลี้อาธรรม

ลี้อาธรรม ประธานกรรมการ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย นายกสมาคมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประธานกรรมการ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ช่วงปี 2540-2544 (รัฐบาลนายชวน หลีกภัย) อดีตคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) และอดีตผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และพิสิฐ ลี้อาธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พิเชียร อำนาจวรประเสริฐ

ียร อำนาจวรประเสริฐ นายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ พิธีกรรายการโทรทัศน์ และนักจัดรายการวิทยุ เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

กล้านรงค์ จันทิก

กล้านรงค์ จันทิก เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายยนต์ และนางศรีสว่าง จันทิก สมรสกับนางพันทิพา จันทิก มีบุตรธิดา 3 คน นายกล้านรงค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการ ป.ป..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และกล้านรงค์ จันทิก · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์

กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พุทธศักราช 2557, กรรมการกฤษฎีกา กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

การุณ ใสงาม

การุณ ใสงาม ขณะกำลังอภิปรายในที่ประชุมวุฒิสภา นายการุณ ใสงาม นักการเมืองอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ อดีต..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และการุณ ใสงาม · ดูเพิ่มเติม »

กนก โตสุรัตน์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนก โตสุรัตน์ (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) เป็นประธานคณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการพลเรือนประจำจังหวัดศรีสะเกษที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และกนก โตสุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคกลาง (ประเทศไทย)

กลาง เป็นภูมิภาคตอนกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคตะวันออก และภาคอีสานทางทิศตะวันออกโดยมีทิวเขาเพชรบูรณ์กั้น ติดต่อกับภาคตะวันตก ทิศเหนือติดต่อกับทิวเขาผีปันน้ำ พื้นนี้เคยเป็นดินแดนที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยา และยังเป็นพื้นที่ที่สำคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทยตั้งอยู่ และมีประชากรในภูมิภาคมากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และภาคกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

รองศาสตราจารย์

รองศาสตราจารย์ (associate professor) ใช้อักษรย่อว่า ร. เป็นตำแหน่งทางวิชาการ ต่อมาจากตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อนจะเป็น ศาสตราจารย์ โดยต้องมีชั่วโมงสอน มีผลงานเอกสารคำสอนอย่างน้อย 1 รายวิชา คุณภาพดี และงานแต่ง เรียบเรียง แปลหนังสือ คุณภาพดี หรือผลงานวิจัย คุณภาพดี หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เป็นที่ยอมรับ ตำแหน่งรองศาสตราจารย์แสดงถึงผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีผลงานทางวิชาการ ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีหน้าที่หลักในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง คือ มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาและมีความชำนาญพิเศษในการสอนและ ทำการสอนโดยใช้เอกสารคำสอน ประกอบการสอนมาแล้ว ทำการวิจัย ทำประโยชน์แก่สาธารณะ อาจมีงานแต่ง เรียบเรียง ตำรา หรือหนังสือที่ใช้ประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก..อ. กำหนด ในประเทศไทย ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ จะต้องดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี และได้อยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการตามปกติ หรือได้รับอนุมัติให้ลาศึกษาบางส่วน (อย่างมากไม่เกิน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์) ซึ่งตำแหน่งรองศาสตราจารย์จะต้องผ่านการกลั่นกรองและประเมินผลงานอย่างเคร่งครัดและเข้มงวดในความถูกต้องของวิชา เมื่อผ่านการประเมินแล้วจึงจะได้รับการแต่งตั้งของสภามหาวิทยาลัย การเสนอขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ ผู้เสนอขอสามารถดำเนินการเพื่อขอแต่งตั้งได้ 2 วิธี คือ วิธีปกติ และวิธีพิเศษ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และรองศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 102 ก ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 มี 39 มาตรา เป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวที่หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หลังจากที่ได้กระทำการรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

วรากรณ์ สามโกเศศ

รองศาสตราจารย์ วรากรณ์ สามโกเศศ กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ อธิการบดีกิตติคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพอดีตประธานกรรมการ ในคณะกรรมการบริหารสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการบริหารธุรกิจ ในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการความลับทางการค้า ได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการสรรหาเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และวรากรณ์ สามโกเศศ · ดูเพิ่มเติม »

วิชา มหาคุณ

ตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2489) คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และอดีตประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีก.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และวิชา มหาคุณ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีราชา วงศารยางกูร

ตราจารย์ ศรีราชา วงศารยางกูร (สกุลเดิม เจริญพานิช) ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และอดีตรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.).

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และศรีราชา วงศารยางกูร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)

ร่างรัฐธรรมนูญ คือ คณะบุคคลที่ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ มักเกิดขึ้นเมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและต้องการให้มีรัฐธรรมนูญฉบับถาวร หรือเป็นกรณีที่ต้องการประสานประโยชน์ ตรงตามความประสงค์ของบุคคลทุกฝ่ายมากที่สุด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย ที่ร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ผลดีของการร่างรัฐธรรมนูญโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ คือ.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

สมัชชาแห่งชาติไทย

มัชชาแห่งชาติของประเทศไทย (National People's Assembly of Thailand) เป็นองค์กรที่ประกอบด้วยบุคคลจากหลากหลายสาขาอาชีพ มาประชุมกันเพื่อคัดเลือกกันเองไปเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสมัชชาแห่งชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด เลิศไพฑูรย์

ตราจารย์ สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดึตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และศาสตราจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเคยเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและเลขานุการคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสมคิด เลิศไพฑูรย์ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ โชติพานิช

นายสวัสดิ์ โชติพานิช (เกิด 17 ตุลาคม พ.ศ. 2474 ที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง) อดีตประธานศาลฎีกา อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายสืบสวนสอบสวน ชุดที่ 1 ดำรงตำแหน่งระหว่าง 27 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสวัสดิ์ โชติพานิช · ดูเพิ่มเติม »

สุพจน์ ไข่มุกด์

น์ ไข่มุกด์ (เกิด 1 กันยายน พ.ศ. 2488) รองประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญคนที่หนึ่ง อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ยกร่าง พ.ศ. 2558) และอดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 2550.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสุพจน์ ไข่มุกด์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย

รชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่ 1 เป็นกรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตรักษาการประธานวุฒิสภา อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และอดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา เป็นนักกฎหมายและเนติบัณฑิตไท.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร จันทร์รังสี

นทร จันทร์รังสี เกิดเมื่อวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสุนทร จันทร์รังสี · ดูเพิ่มเติม »

สดศรี สัตยธรรม

นางสดศรี สัตยธรรม อดีตกรรมการการเลือกตั้ง รับผิดชอบงานด้านกิจการพรรคการเมือง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 ที่ย่านตลาดพลู จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรสาวคนที่ 12 ของ น.ขุนเจริญเวชธรรม หรือ เจริญ สัตยธรรม และนางปราณี ตุลยพานิช มีพี่น้องทั้งหมด 14 คน ปัจจุบันพี่น้องส่วนใหญ่ลงหลักปักฐานที่สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสดศรี สัตยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ ดำดี

อภิชาติ ดำดี (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503) เป็นนักพูด นักจัดรายการชาวไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดกระบี่ thumb.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และอภิชาติ ดำดี · ดูเพิ่มเติม »

อัครวิทย์ สุมาวงศ์

อัครวิทย์ สุมาวงศ์ (เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2482) รองประธานศาลปกครองสูงสุด เป็นบุตรของพระมนูเวทย์วิมลนาท (มนูเวทย์ หรือ เบี๋ยน สุมาวงศ์)อดีตประธานศาลฎีกา 28..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และอัครวิทย์ สุมาวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อังคณา นีละไพจิตร

อังคณา นีละไพจิตร (สกุลเดิม: วงศ์ราเชนทร์; 23 มีนาคม พ.ศ. 2499) กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประธานกรรมการในคณะอนุกรรมการด้านสิทธิสตรีกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติรองประธานในคณะอนุกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ นักเคลื่อนไหวสตรี ภรรยาของนายสมชาย นีละไพจิตร ปัจจุบันเป็นประธานคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ติดตามความคืบหน้าของคดีการหายตัวไปของนายสมชาย นีละไพจิตร ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 อังคณาเกิดที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้พบกับสมชาย นีละไพจิตร ขณะเป็นนายกสมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยมท.) และสมรสกัน มีบุตรด้วยกัน 5 คน.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และอังคณา นีละไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ลขาธิการสถาบันอภิวุฒิโยธิน_วิทยาลัยเทคโนโลยีรัชภาคย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (Assistant professor) ใช้อักษรย่อว่า ผ. เป็นตำแหน่งทางวิชาการที่ใช้ในหลายประเท.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และผู้ช่วยศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ ภักดีธนากุล

ตราจารย์พิเศษจรัญ ภักดีธนากุล (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 –) เป็นนักนิติศาสตร์ชาวไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรมและผู้พิพากษาศาลยุติธรรม และยังเป็นผู้บรรยายวิชากฎหมายลักษณะพยานที่เนติบัณฑิตยสภาอีกด้ว.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และจรัญ ภักดีธนากุล · ดูเพิ่มเติม »

จรัส สุวรรณมาลา

ตราจารย์ จรัส สุวรรณมาลา (เกิดเมื่อ 21 กันยายน พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ชาวไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 เป็นศาสตราจารย์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตคณบดี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และจรัส สุวรรณมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) ประเภทผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน, อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา, อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองโฆษกกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองอธิบดีกรมคุมประพฤติ, อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (CPLO) นอกจากนี้แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ยังมีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธีเป็นอย่างมาก จนได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธี เป็นจำนวนมาก ตลอดจนยังได้หนังสือกฎหมายต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย และยังได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่ายทอดสดในการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญมาแล้วหลายวาระ และล่าสุดในปีพ.ศ. 2559 ได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่าดทอดสดในการพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และธงทอง จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

คมสัน โพธิ์คง

มสัน โพธิ์คง เป็นนักนิติศาสตร์ชาวไทย อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เขามีชื่อเสียงจากการเป็นสมาชิกนักวิชาการกลุ่มสยามประชาภิวัฒน์ อันเป็นกลุ่มนักวิชาการที่รวมตัวกันเฉพาะกิจขนาดเล็กที่มีการพบปะพูดคุยเพื่อออกแถลงการณ์ในเรื่องที่กลุ่มเห็นว่าฝ่ายผู้มีอำนาจนั้นกระทำการไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือตามนโยบายที่ไม่สมเหตุสมผล อนึ่ง เขาเป็นคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และคมสัน โพธิ์คง · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ชื่อย่อ คม. (Council of National Security - CNS) เป็นคณะบุคคลที่แปรสภาพมาจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งได้กระทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยสำเร็จเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ประพันธ์ นัยโกวิท

นายประพันธ์ นัยโกวิท (เกิด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490) กรรมการในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ยกร่าง พ.ศ. 2558) อดีตรองอัยการสูงสุด อดีตกรรมการการเลือกตั้ง รับผิดชอบงานด้านการบริหารการเลือกตั้ง ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และประพันธ์ นัยโกวิท · ดูเพิ่มเติม »

ประสงค์ สุ่นศิริ

นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์แนวหน้.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และประสงค์ สุ่นศิริ · ดูเพิ่มเติม »

นรนิติ เศรษฐบุตร

ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และ ภายหลังได้รับเลือกจากสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญให้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถานอีกด้วย ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วุฒิบัตรด้านโซเวียตศึกษา จากมหาวิทยาลัย Fribourg สวิตเซอร์แลนด์, ปริญญาโทด้านการทูต ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และรัสเซียศึกษา จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นคณบดี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง..

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และนรนิติ เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

นุรักษ์ มาประณีต

นุรักษ์ มาประณีต ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานคณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษาอบรมของวิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2492 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และนุรักษ์ มาประณีต · ดูเพิ่มเติม »

เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม

ตราจารย์เกียรติคุณ เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม (11 กันยายน พ.ศ. 2480) ราชบัณฑิต และนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, อดีตคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.เกริกเกียรติ ได้ชื่อว่าเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลัง ทั้งยังยึดมั่นในความเป็นนักวิชาการ ไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เช่นเดียวกับศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ผู้เป็นที่เคารพ ในอดีตได้เคยปฏิเสธการดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี อาทิรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งคำชักชวนร่วมงานการเมืองอื่น.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เสรี สุวรรณภานนท์

รี สุวรรณภานนท์ เป็นประธานกรรมาธิการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สภาปฏิรูปแห่งชาติ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และเสรี สุวรรณภานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง

รองศาสตราจารย์ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อาจารย์พิเศษประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง · ดูเพิ่มเติม »

เดโช สวนานนท์

วนานนท์ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2476-) นักวิชาการทางกฎหมายและรัฐศาสตร์และอดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาชน.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และเดโช สวนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 ธันวาคม

วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550และ27 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ส.ส.ร.สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย พ.ศ. 2550)สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550สสร.คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »