เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ศัพท์เฉพาะกิจ

ดัชนี ศัพท์เฉพาะกิจ

ัพท์เฉพาะกิจ (Nonce word) คือคำที่ใช้เพียงครั้งเดียว ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในโอกาสใดโอกาสหนึ่งโดยไม่หวังที่จะใช้ต่อไปอีกหลังจากนั้น เช่นคำว่า “Quark” ซึ่งเป็นศัพท์เฉพาะกิจในภาษาอังกฤษที่ใช้โดยเจมส์ จอยซ์เท่านั้นใน “มโนสำนึกของฟินเนกัน” ที่ตีพิมพ์ในปี..

สารบัญ

  1. 10 ความสัมพันธ์: พจนานุกรมการโฆษณามโนสำนึกของฟินเนกันยูลิสซีสลูอิส แคร์รอลวัฒนธรรมประชานิยมวงศัพท์ศัพท์เทียมคำเจมส์ จอยซ์

  2. การสร้างคำ

พจนานุกรม

นานุกรม พจนานุกรม เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง โดยทั่วไป หมายถึง หนังสือที่รวบรวบคำศัพท์ในวงศัพท์ที่กำหนด และนิยามความหมายเอาไว้ เพื่อใช้เป็นที่ค้นหาความหมายของคำ โดยมีการเรียงลำดับคำศัพท์ตามตัวอักษร ตามเสียง หรือตามลำดับอื่นๆ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับการใช้พจนานุกรมนั้นๆ พจนานุกรมยังมีนัยถึงหนังสือที่ให้รายละเอียด ครอบคลุมวงศัพท์ที่กว้าง ขณะที่หนังสือรวบรวมและอธิบายคำศัพท์ในวงแคบและมีจำนวนจำกัด มักจะเรียกว่า ปทานุกรม อย่างไรก็ตาม คำว่าปทานุกรมและพจนานุกรมอาจใช้สลับกันได้ คำว่า พจนานุกรม เป็นการคิดคำขึ้น จาก พจน (คำพูด) และ อนุกรม (ลำดับ ระเบียบ ชั้น) รวมกันด้วยวิธีสมาส เป็น “พจนานุกรม” หมายถึง หนังสือที่รวบรวมและเรียงลำดับคำ(พูด) เอาไว้ อย่างไรก็ตาม คำว่า “พจนานุกรม” เป็นการสร้างขึ้นมาเพื่อแปลศัพท์ dictionary ในภาษาอังกฤษนั่นเอง.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและพจนานุกรม

การโฆษณา

การโฆษณา (advertising) เป็นการประกาศสินค้าหรือบริการให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบ เป็นเครื่องมือสื่อสารทางเพื่อบอกกล่าวให้ผู้บริโภครู้สึกถึงคุณค่าและความแตกต่าง รู้จักและก่อให้เกิดพฤติกรรมการซื้อสินค้าหรือใช้บริการนั้น ในอดีตการเริ่มต้นของการโฆษณาจะเป็นลักษณะของการร้องป่าวประกาศเชิญชวน ปัจจุบันทำโดยเผยแพร่งานโฆษณา ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุ เป็นต้น โดยเจ้าของกิจการจะว่าจ้างบริษัทรับทำโฆษณา เพื่อทำการโฆษณาสินค้าและบริการในสื่อต่าง ๆ เช่น ป้ายโฆษณากลางแจ้งตามถนนสายหลัก ซึ่งเป็นสื่อที่ช่วยประหยัดงบประมาณได้และสามารถตอกย้ำตราสินค้าได้อีกทางใดทางหนึ่ง.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและการโฆษณา

มโนสำนึกของฟินเนกัน

มโนสำนึกของฟินเนกัน (Finnegans Wake) เป็นนวนิยายชวนขัน (Comic novel) และงานชิ้นสุดท้ายที่เขียนโดยเจมส์ จอยซ์ ที่เขียนโดยใช้ลักษณะการเขียนแบบทดลอง ที่มีผลให้ได้ชื่อว่าเป็นงานวรรณกรรมนวนิยายชิ้นที่ยากแก่การเข้าใจมากที่สุดชิ้นหนึ่งของภาษาอังกฤษ จอยซ์ใช้เวลาถึง 17 ปีในการเขียนงานชิ้นนี้ในปารีส และในที่สุดก็ได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและมโนสำนึกของฟินเนกัน

ยูลิสซีส

ูลิสซีส (Ulysses) เป็นนวนิยายที่เขียนโดยเจมส์ จอยซ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกเป็นตอนๆ ในนิตยสารอเมริกัน “The Little Review” ตั้งแต่เดืยนมีนาคม..

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและยูลิสซีส

ลูอิส แคร์รอล

ลส์ ลัตวิดจ์ ดอดจ์สัน (27 มกราคม ค.ศ. 1832 - 14 มกราคม ค.ศ. 1898) หรือที่ผู้คนรู้จักกันในนามปากกา ลูอิส แคร์รอล เขาเป็นทั้งนักเขียนนวนิยาย นักคณิตศาสตร์ ชาวอังกลิคัน และช่างภาพ ผลงานเด่นที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาคือ อลิซผจญภัยในดินแดนมหัศจรรย์ และภาคต่อที่ชื่อ Through the Looking-Glass นอกจากนี้ยังมีผลงานอื่นอีก เช่น "The Hunting of the Snark" และ "Jabberwocky" ซึ่งทั้งหมดเป็นวรรณกรรมแนว "literary nonsense" จุดเด่นในวรรณกรรมของชาลส์ ลัตวิดจ์ ดอดจ์สัน คือการเล่นคำ, ตรรกะ, และ แฟนตาซี ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของเด็กๆ, และยิ่งกว่านั้นงานเขียนของเขาได้ฝังลึกเข้าไปในวัฒนธรรมสมัยนิยม, และมีอิทธิพลโดยตรงกับนักเขียนจำนวนมากในเวลาถัดม.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและลูอิส แคร์รอล

วัฒนธรรมประชานิยม

วัฒนธรรมประชานิยม (popular culture หรือ pop culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมของผู้คนในสมัยนั้น เกิดจากการสื่อสารของบุคคล ความต้องการของวัฒนธรรมในจังหวะช่วงเวลานั้น ซึ่งเกิดขึ้นทุกวันและแสดงเป็นภาพลักษณ์ออกมา ซึ่งสามารถรวมได้ถึงทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นการทำอาหาร การแต่งกาย สื่อมวลชน กีฬา หรือวรรณกรรม วัฒนธรรมประชานิยมมักมีลักษณะตรงข้ามกับวัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมประชานิยมคือทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นความคิด มุมมอง ทัศนคติ ภาพลักษณ์ การเลียนแบบ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อกันอย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นสิ่งที่ชื่นชอบของสังคมในท่ามกลางวัฒนธรรมกระแสหลัก ส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมสมัยนิยม เช่น เพลงป็อปหรือเพลงสมัยนิยมที่จะเน้นในลักษณะตามความชอบของคนในสมัยนั้น เพลงป็อปในญี่ปุ่นจะเรียกว่า เจ-ป็อป.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและวัฒนธรรมประชานิยม

วงศัพท์

ำศัพท์ ของบุคคล หมายถึงกลุ่มของคำในภาษาหนึ่ง ๆ อันเป็นที่คุ้นเคยต่อบุคคลนั้น วงศัพท์โดยปกติจะพัฒนาเพิ่มขึ้นตามอายุ และทำหน้าที่เป็นเครื่องมือพื้นฐานและมีประโยชน์ เพื่อการสื่อสารตและการเรียนรู้ การได้วงศัพท์ที่กว้างขวางเป็นความท้าทายยิ่งใหญ่ที่สุดในการเรียนรู้ภาษาที่สอง.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและวงศัพท์

ศัพท์เทียม

ัพท์เทียม (Pseudoword) คือคำที่ดูเหมือนหรือดูเผินๆ จะเป็นคำศัพท์ที่มีความหมายจริงในภาษาหนึ่งภาษาใด แต่อันที่จริงแล้วมิได้เป็นส่วนหนึ่งของศัพทานุกรม ในด้านภาษาศาสตร์ ศัพท์เทียมเป็นคำสำหรับความจำกัดของระบบเสียง ซึ่งหมายความว่าเป็นคำที่ไม่ได้ใช้เสียงหรือกลุ่มเสียงที่ไม่มีในภาษา ซึ่งทำให้ง่ายต่อเจ้าของภาษาที่จะออกเสียง นอกจากนั้นแล้วเมื่อเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วศัพท์เทียมก็จะไม่ใช้กลุ่มอักษรที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในภาษาที่ต้องการ เช่นคำว่า “Vonk” แต่คำว่า “dfhnxd” จะไม่ถือว่าเป็นศัพท์เทียมของภาษาอังกฤษ แต่จะเป็น “อศัพท์” (nonword) อศัพท์ตรงกันข้ามกับศัพท์เทียมตรงที่เป็นคำที่ ไม่สามารถออกเสียงได้ และไม่สามารถสะกดได้อย่างดูแล้วถูกต้องตามหลักการสะกดของภาษาตามปกต.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและศัพท์เทียม

คำ

ำ เป็นหน่วยของภาษาที่สื่อถึงความหมายซึ่งประกอบด้วยพยางค์หนึ่งพยางค์หรือมากกว่า ปกติแล้วในแต่ละคำจะมีรากศัพท์ของคำแสดงถึงความหมายและที่มาของคำนั้น โดยการนำคำหลายคำมาประกอบกันจะทำให้เกิดวลีหรือประโยคซึ่งใช้สื่อความหมายให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นไป.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและคำ

เจมส์ จอยซ์

มส์ จอยซ์ เจมส์ จอยซ์ (James Joyce) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1882 – 13 มกราคม ค.ศ. 1941) เป็นนักเขียนชาวไอริช เกิดในเมืองดับลิน แต่ไปจากบ้านเกิดตั้งแต่ยังหนุ่ม ซึ่งต้องการหลีกหนีจากปัญหาสังคมและเรื่องศาสนา โดยไปอาศัยอยู่ที่ปารีส งานเขียนที่สำคัญได้แก่ “ยูลิสซีส” (ค.ศ.

ดู ศัพท์เฉพาะกิจและเจมส์ จอยซ์

ดูเพิ่มเติม

การสร้างคำ