เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วาทิน ปิ่นเฉลียว

ดัชนี วาทิน ปิ่นเฉลียว

วาทิน ปิ่นเฉลียว หรือ ต่วย บรรณาธิการบริหารของ ต่วย’ตูน นิตยสารพ็อกเกตบุ๊กรายปักษ์ที่วางจำหน่ายตั้งแต่ พ.ศ.

สารบัญ

  1. 12 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2473พ.ศ. 2514วสิษฐ เดชกุญชรหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชจินตนา ภักดีชายแดนณรงค์ จันทร์เรืองคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ต่วย’ตูนปกรณ์ ปิ่นเฉลียวประเสริฐ พิจารณ์โสภณเขื่อนภูมิพล

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและพ.ศ. 2473

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและพ.ศ. 2514

วสิษฐ เดชกุญชร

ลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561)) อดีตนายตำรวจราชสำนักประจำ และเป็นผู้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไว้วางพระราชหฤทัย จนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง หัวหน้านายตำรวจราชสำนักประจำ ก่อนที่จะออกมาดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมตำรวจ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ที่เป็นนักเขียนนวนิยายเกี่ยวกับวงการตำรวจ และอาชญากรรม โดยนำมาจากประสบการณ์จริง จนได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ.

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและวสิษฐ เดชกุญชร

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

จินตนา ภักดีชายแดน

นตนา ภักดีชายแดน (นามสกุลเดิม ปิ่นเฉลียว) เป็นชื่อจริงของนักเขียนนวนิยายแนวระทึกขวัญที่รู้จักกันดีในนาม จินตวีร์ วิวัธน์ และยังได้ชื่อว่าเป็นกวีหญิงฝีปากกล้าคนหนึ่งของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีชื่อเสียงเลื่องลือไกลออกไปนอกรั้วอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเป็นกลอนวิพากษ์สังคม การเมือง กลอนหวาน หรือแม้แต่กลอนหักมุม ส่วนบทประพันธ์นวนิยายของจินตนา นอกจากจะเป็นแนวสยองขวัญที่หยิบยกเอาเรื่องผีสาง ความเร้นลับ หรือความเชื่อโบราณ มาผูกเป็นเรื่องราวแล้ว ยังมีอีกหลายเรื่องที่ถือเป็นนวนิยายอันโดดเด่นและฉีกแนวออกไปจากนวนิยายของนักเขียนคนอื่น ๆ ในสมัยเดียวกันเป็นอย่างมาก จากการนำเรื่องราวของวิทยาศาสตร์ ปรจิตวิทยา หรือแม้แต่พฤกษศาสตร์ เข้ามาผนวกกับความเชื่อและความสยองขวัญอันชวนระทึก จนเกิดเป็นนวนิยายแนวไซ-ไฟระทึกขวัญที่มีความเหนือล้ำกาลเวลา ชนิดไม่ว่าจะผ่านไปกี่สิบปี ความทันสมัยของตัวเนื้อหาในนวนิยายก็ล้วนยังชวนให้น่าทึ่ง ระคนไปกับความระทึกอันเป็นอารมณ์หลักของเรื่อง ซึ่งมีจุดเชื่อมโยงกันได้อย่างลงตัว เช่น กึ่งหล้าบาดาล ศีรษะมาร มนุษย์สังเคราะห์ มฤตยูเขียว เป็นต้น แม้กระทั่งงานเขียนแนวร่วมสมัยที่นำเอาเรื่องราวต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น อารยธรรมโบราณ เทพปกรณัม อสุรกาย ภูตผี มาผนวกเข้ากับความสยองขวัญจนเกิดเป็นจินตนิยายระทึกขวัญที่ผสมกลมกลืนกับความเป็นไทยได้อย่างกลมกล่อม อาทิ อมฤตาลัย หรือสาบนรสิงห์ เป็นต้น ก็ได้ปรากฏภายใต้การจรดอักษรของจินตนามาแล้วเช่นกัน ที่สำคัญ บทประพันธ์หลายเรื่องภายใต้นามปากกาต่าง ๆ ของจินตนา ยังได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์โทรทัศน์มาแล้วแทบทั้งสิ้น อาทิ ศีรษะมาร สาบนรสิงห์ คฤหาสน์ดำ ขุมทรัพย์โสมประภา อมฤตาลัย สุสานภูเตศวร มฤตยูเขียว วังไวกูณฑ์ อาศรมสาง บ้านศิลาทราย มายาลวง มายาพิศวาส นอกจากนี้ก็ยังมี บุปผาเพลิง ที่ได้รับการสร้างเป็นละครวิทยุอีกด้วย จากการประสบความสำเร็จดังกล่าวข้างต้น จึงถือเป็นเครื่องยืนยันความยอดเยี่ยมในผลงานของจินตนาได้เป็นอย่างดี ทว่าจะมีสักกี่คนที่รู้ว่าผลงานชวนระทึกขวัญทุกชิ้นดังกล่าวนั้น จะเกิดจากจรดอักษรขึ้นโดยนักเขียนหญิงซึ่งเป็นคนกลัวผีมาก มากเสียจนถูกขนานนามว่าเป็น ราชินีนิยายสยองขวัญที่กลัวผีมากที.

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและจินตนา ภักดีชายแดน

ณรงค์ จันทร์เรือง

ณรงค์ จันทร์เรือง เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 เป็นนักเขียนชาวไทย ประเภทเรื่องขนหัวลุก ใช้นามปากกาว่า "ใบหนาด".

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและณรงค์ จันทร์เรือง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ หรือ งานฟุตบอลประเพณีธรรมศาสตร์–จุฬาฯ เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของประเทศไทย เริ่มจัดกิจกรรมครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม..

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

ต่วย’ตูน

รวมการ์ตูนต่วยและเรื่องขำขันจากชาวกรุง ต้นกำเนิดของ ต่วย’ตูน ต่วย’ตูนในปัจจุบัน ต่วย’ตูน เป็นนิตยสารพ็อกเกตบุ๊กรายปักษ์ รวมเรื่องสั้นและขำขัน ก่อตั้งโดย วาทิน ปิ่นเฉลียว หรือ "ต่วย" เริ่มวางจำหน่ายตั้งแต่ พ.ศ.

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและต่วย’ตูน

ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

ันตำรวจเอก (พิเศษ) ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว (18 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 - ?) นักเขียนชาวไท.

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ

ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นนักเขียนเรื่องสั้นที่มีชื่อเสียง ใช้นามปากกาว่า "ชาย บางกอก" ตั้งให้โดยประหยัด ศ.

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและประเสริฐ พิจารณ์โสภณ

เขื่อนภูมิพล

ื่อนภูมิพล เป็นเขื่อนอเนกประสงค์แห่งแรกในประเทศไทย ลักษณะเป็นเขื่อนคอนกรีตรูปโค้ง ได้รับการอนุมัติให้สำรวจและก่อสร้างในปี..

ดู วาทิน ปิ่นเฉลียวและเขื่อนภูมิพล