เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

ดัชนี วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

วัดอรุณราชวราราม หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีใน พ.ศ.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 36 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2310พ.ศ. 2322พ.ศ. 2327พ.ศ. 2560พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค)พระพุทธชัมพูนุชพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรพระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลกพระพุทธนฤมิตรพระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ)พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารพระแจ้งกรุงเทพมหานครภาพยนตร์เสียงศรีกรุงมหานิกายราชกิจจานุเบกษารายการรหัสไปรษณีย์ไทยวัดพระศรีรัตนศาสดารามวัดนวลนรดิศสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสำนวนภาษาปากอาณาจักรอยุธยาอาณาจักรธนบุรีถนนอรุณอมรินทร์ประเทศไทยป้อมวิไชยประสิทธิ์เวียงจันทน์เถรวาทเขตบางกอกใหญ่31 กรกฎาคม

  2. เขตบางกอกใหญ่

พ.ศ. 2310

ทธศักราช 2310 ตรงกับคริสต์ศักราช 1767 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพ.ศ. 2310

พ.ศ. 2322

ทธศักราช 2322 ใกล้เคียงกั.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพ.ศ. 2322

พ.ศ. 2327

ทธศักราช 2327 ใกล้เคียงกั.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพ.ศ. 2327

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพ.ศ. 2560

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค)

ระพิมลธรรม นามเดิม นาค ฉายา สุมนนาโค เป็นพระราชาคณะรองเจ้าคณะหนเหนือ เจ้าคณะมณฑลชุมพร เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร นอกจากนี้ท่านยังเป็นพระเกจิอาจารย์ผู้มีชื่อเสียงจากการทำตะกรุดหนังหน้าผากเสือ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค)

พระพุทธชัมพูนุช

พระพุทธชัมพูนุช มหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะรัตนโกสินทร์ วัสดุทองแดงปิดทอง สร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 ประดิษฐานอยู่ภายในพระวิหาร วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร หมวดหมู่:พระพุทธรูปในประเทศไทย.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธชัมพูนุช

พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

ระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้วมรกต เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศไทย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หรือ วัดพระแก้ว) ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกต เป็นพระพุทธรูปสกุลศิลปะก่อนเชียงแสนถึงศิลปะเชียงแสน หลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรก ประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะ ตำบลเวียง เมืองเชียงราย (ปัจจุบันคือวัดพระแก้ว เชียงราย อำเภอเมืองเชียงราย) ในปี พ.ศ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

พระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก

พระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก พระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก เป็นพระประธานในพระอุโบสถ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะรัตนโกสินทร์ เล่ากันว่าหุ่นพระพักตร์ปั้นโดย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่๒ ส่วนพระวรกาย ปั้นโดย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 และที่ฐานของพระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก ยังเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยอีกด้วย หมวดหมู่:พระพุทธรูปในประเทศไทย.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก

พระพุทธนฤมิตร

พระพุทธนฤมิตร พระพุทธนฤมิตร เป็นพระพุทธรูปฉลองพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้หล่อขึ้นโดยจำลองจากพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งประดิษฐานอยู่ที่ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญมาประดิษฐานบนบุษบกยอกปรางค์หน้าพระอุโบสถ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร จนถึงปัจจุบัน หมวดหมู่:พระพุทธรูปในประเทศไทย.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธนฤมิตร

พระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ)

ระธรรมมงคลเจดีย์ นามเดิม เฉลียว ปัญจมะวัต ฉายา ฐิตปุญฺโญ อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ)

พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

ระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร หรือเรียกสั้นๆว่า พระปรางค์วัดอรุณฯ เป็นพระปรางค์สถาปัตยกรรมไทย ขนาดใหญ่ ประกอบด้วยปรางค์ประธานและปรางค์รองอีก 4 ปรางค์ ตั้งอยู่ที่ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ตัวพระปรางค์ปัจจุบันนี้มิใช่พระปรางค์เดิม ที่สร้างขึ้นราวสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่มีความสูงเพียง 16 เมตร โดยปรางค์ปัจจุบันนี้ถูกสร้างขึ้นแทน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ในปี..

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

พระแจ้ง

ระแจ้ง พระแจ้ง หรือ พระอรุณ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะลาว เป็นพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ..

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและพระแจ้ง

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและกรุงเทพมหานคร

ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง

นตร์เสียงศรีกรุง หรือ ศรีกรุงภาพยนตร์ (สัญลักษณ์ พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม) เป็นบริษัทสร้างภาพยนตร์ไทย สมัยรัชกาลที่ 7 กิจการแห่งเดียวที่สร้าง "หนังพูด" อัดเสียงลงฟิล์มขณะถ่ายทำพร้อมกัน (ซาวด์ออนฟิล์ม) ของพี่น้องตระกูลวสุวัต เจ้าของโรงพิมพ์และหนังสือพิมพ์รายวัน ศรีกรุง ซึ่งชอบเรื่องสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆตั้งแต่วัยเยาว์ นำโดย มานิต วสุวัต เจ้าของโรงถ่ายภาพยนตร์มาตรฐานสากลแห่งแรกของไทยที่ทุ่งบางกะปิ ซึ่งได้ฉายา ฮอลลีวู้ดเมืองไทย(ติดด้านหลังสยามสมาคมซึ่งถูกเพลิงไหม้ในเวลาต่อมาหรือใกล้สถานีรถไฟฟ้า ถ.อโศก ในปัจจุบัน) ถ่ายทำหนังข่าวและสารคดีที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ หลายเรื่อง ตลอดจนสร้างหนังที่มีชื่อเสียงและเพลงอมตะไว้อีกมาก รวมทั้งหนังชั้น ซูเปอร์ ใช้ทุนและฉากมโหฬาร 2 เรื่อง คือ เลือดทหารไทย และ เพลงหวานใจ ผู้นำความคิดริเริ่มใหม่และนวัตกรรม หลายๆด้านในยุคบุกเบิกของวงการหนังไท.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและภาพยนตร์เสียงศรีกรุง

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและมหานิกาย

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและราชกิจจานุเบกษา

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดนวลนรดิศ

วัดนวลนรดิศ อาจหมายถึง.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและวัดนวลนรดิศ

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฤทธิ์ ฉายา ธมฺมสิริ เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าคณะใหญ่ฝายเหนือและอดีตเจ้าอาวาสวัดบพิตรพิมุขวรวิหารและวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ)

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติาโณ) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนใต้ กรรมการมหาเถรสมาคม และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)

สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม ฑิต ฉายา อุทโย เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

สำนวนภาษาปาก

ำนวนภาษาปาก (colloquialism) คือ ภาษาประเภทหนึ่งซึ่งเกิดจากการพูดที่แสดงความคุ้นเคย ไม่เหมาะที่จะใช้เป็นพิธีรีตอง เช่น ตาแป๊ะ ตะบี้ตะบัน เทน้ำเทท่า ทั้งนี้ ภาษาประเภทนี้อาจปรากฏได้ทั้งในภาษาเขียนและภาษาพูด ในพจนานุกรมไทยจะย่อชื่อภาษานี้ว่า "(ปาก)" เช่น "ทาน (ปาก) ก.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและสำนวนภาษาปาก

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและอาณาจักรอยุธยา

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและอาณาจักรธนบุรี

ถนนอรุณอมรินทร์

นนอรุณอมรินทร์ ถนนอรุณอมรินทร์ (Thanon Arun Ammarin) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและถนนอรุณอมรินทร์

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและประเทศไทย

ป้อมวิไชยประสิทธิ์

ป้อมวิไชยประสิทธิ์ เป็นป้อมปราการริมแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาด้านตะวันตก ทางเหนือของปากคลองบางหลวง (คลองบางกอกใหญ่) ปัจจุบันอยู่ในบริเวณกองบัญชาการกองทัพเรือ พระราชวังเดิม ถนนอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ป้อมวิไชยประสิทธิ์ เดิมเป็นป้อมหอรบตั้งอยู่มุมกำแพงเมืองบางกอก (ธนบุรี) ถูกสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเพื่ออารักขาปากแม่น้ำ ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าขายสำคัญ คาดว่าป้อมนี้ถูกสร้างขึ้นก่อนรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยอาจมีชาวโปรตุเกสช่วยออกแบบพิพัฒน์ กระแจะจันทร.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและป้อมวิไชยประสิทธิ์

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและเวียงจันทน์

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและเถรวาท

เขตบางกอกใหญ่

ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและเขตบางกอกใหญ่

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ดู วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารและ31 กรกฎาคม

ดูเพิ่มเติม

เขตบางกอกใหญ่

หรือที่รู้จักกันในชื่อ วัดอรุณวัดอรุณราชวราราม