เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)

ดัชนี วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)

ีย์วัดอรัญญิก วัดอรัญญิก เป็นวัดโบราณสมัยสุโขทัย ตั้งอยู่อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก บริเวณนอกกำแพงเมือง ประมาณ 1 กิโลเมตร ตามความนิยมในสมัยสุโขทัยที่สร้างวัดในป่าและ ให้ชื่อว่า "อรัญญิก" ลักษณะสถาปัตยกรรมของวัด เจดีย์องค์ประธานเป็นทรงลังกา ฐานกลม องค์ระฆังเหลือครึ่งซีกจนถึง บัลลังก์ พบร่องรอยการบูรณะจึงมีรูปแบบผสมผสาน พบซากอุโบสถ ซากใบเสมาหินศิลปสมัยสุโขทัย พระพุทธรูปศิลปะเชียงแสน สุโขทัย และอยุธยา มีคูน้ำล้อมเนินดิน.

สารบัญ

  1. 7 ความสัมพันธ์: อยุธยาอาณาจักรสุโขทัยอำเภอเมืองพิษณุโลกจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดสุโขทัยเชียงแสนเจดีย์

อยุธยา

อยุธยา อาจหมายถึง.

ดู วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)และอยุธยา

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ดู วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)และอาณาจักรสุโขทัย

อำเภอเมืองพิษณุโลก

ระพุทธชินราช อำเภอเมืองพิษณุโลก เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก.

ดู วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)และอำเภอเมืองพิษณุโลก

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ดู วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)และจังหวัดพิษณุโลก

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ดู วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)และจังหวัดสุโขทัย

เชียงแสน

ียงแสน อาจหมายถึง.

ดู วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)และเชียงแสน

เจดีย์

ระปฐมเจดีย์ที่จังหวัดนครปฐม เจดีย์ (ภาษาบาลี: เจติย, ภาษาสันสกฤต: ไจติยะ) หรือ สถูป (ภาษาบาลี: ถูป, ภาษาสันสกฤต: สฺตูป) เป็นสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนา พบได้ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชีย เจดีย์ หมายถึงสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชาระลึกถึง สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ลูกหลานและผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่สักการะของมหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ์ สำหรับประเทศไทย คำว่า สถูป และ เจดีย์ เรามักรวมเรียกว่า “สถูปเจดีย์” หรือ “เจดีย์” มีความหมายเฉพาะ ถึงสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนาที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิ หรือเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพื่อเป็นที่ระลึก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ในสมัยหลังลงมาคงมีการสร้างสถานที่เพื่อบรรจุอัฐิธาตุ และเพื่อเคารพบูชาระลึกถึงพร้อมกันไปด้ว.

ดู วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)และเจดีย์