โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)

ดัชนี วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)

วัดพระสิงห์ (50px) เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ที่ ถนนท่าหลวง ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 52 ตารางวา ทิศเหนือติดถนนสิงหไคล ทิศใต้ติดถนนพระสิงห์ ทิศตะวันออกติดถนนท่าหลวง ทิศตะวันตกติดถนนภักดีณรงค์ สันนิษฐานกันว่าน่าจะสร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้ามหาพรหม ซึ่งเป็นพระอนุชาของพญากือนา ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ ราวปีพ.ศ. 1928 (พระเจ้ามหาพรหมเสวยราชย์ ณ เมืองเชียงราย ระหว่าง พ.ศ. 1888-พ.ศ. 1943).

46 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1251พ.ศ. 1252พ.ศ. 1850พ.ศ. 1888พ.ศ. 1920พ.ศ. 1925พ.ศ. 1928พ.ศ. 1930พ.ศ. 1931พ.ศ. 1943พ.ศ. 1950พ.ศ. 1962พ.ศ. 1985พ.ศ. 2250พ.ศ. 2310พ.ศ. 2338พ.ศ. 2413พ.ศ. 2432พ.ศ. 2433พ.ศ. 2438พ.ศ. 2440พ.ศ. 2473พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2492พ.ศ. 2504พ.ศ. 2512พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2533พญากือนาพระพุทธสิหิงค์พระสิงห์พระอารามหลวงพระโคตมพุทธเจ้าพระเทพสิทธินายก (ชื่น ปญฺญาธโร)วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)สาละอาณาจักรล้านนาอำเภอเมืองเชียงรายจังหวัดเชียงรายถวัลย์ ดัชนีต้นพระศรีมหาโพธิ์ประเทศศรีลังกาเจ้าอาวาส

พ.ศ. 1251

ทธศักราช 1251 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1251 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1252

ทธศักราช 1252 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1252 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1850

ทธศักราช 1850 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1850 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1888

ทธศักราช 1888 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1888 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1920

ทธศักราช 1920 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1920 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1925

ทธศักราช 1925 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1925 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1928

ทธศักราช 1928 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1930

ทธศักราช 1930 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1930 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1931

ทธศักราช 1931 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1943

ทธศักราช 1943 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1943 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1950

ทธศักราช 1950 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1950 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1962

ทธศักราช 1962 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1962 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1985

ทธศักราช 1985 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 1985 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2250

ทธศักราช 2250 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2250 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2310

ทธศักราช 2310 ตรงกับคริสต์ศักราช 1767 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2310 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2338 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2433 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2438 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2440

ทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2440 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พญากือนา

ญากือนา (100px) หรือพญาธรรมิกราช เป็นพระมหากษัตริย์ล้านนา รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพญากือนา · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธสิหิงค์

ระพุทธสิหิงค์ เป็นพระพุทธรูปโบราณหล่อด้วยสำริดหุ้มทอง ปางสมาธิ สูง 79 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 63 เซนติเมตร เป็นศิลปะแบบลังกา ตามประวัติกล่าวว่า พระเจ้าสีหฬะ พระมหากษัตริย์แห่งลังกาทวีปทรงสร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. 700 ต่อมา พระเจ้าศรีธรรมโศกราชแห่งราชอาณาจักรตามพรลิงก์ได้ไปขอมาถวายพระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย เมื่อสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาได้กรุงสุโขทัยเป็นเมืองขึ้น จึงได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานที่กรุงศรีอยุธยา ต่อมา ได้มีผู้นำไปไว้ที่เมืองกำแพงเพชรและเชียงราย เมื่อพระเจ้าแสนเมืองมา เจ้านครเชียงใหม่ยกทัพไปตีเมืองเชียงรายได้ จึงได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานที่เชียงใหม่พร้อมกับพระแก้วมรกต เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชตีเมืองเชียงใหม่ได้เมื่อ..

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพระพุทธสิหิงค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสิงห์

ระสิงห์ อาจหมายถึง;พระพุทธรูป.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพระสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพระอารามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระโคตมพุทธเจ้า

ระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมในภาษาบาลีว่า สิทธัตถะ โคตมะ หรือในภาษาสันสกฤตว่า สิทฺธารฺถ เคาตมะ (อ่านว่า /สิดทาด —/) (เทวนาครี: सिद्धार्थ गौतम) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน ผู้เป็นศาสดาของศาสนาพุทธ สาวกของพระองค์ไม่นิยมออกพระนามโดยตรง แต่เรียกตามพระสมัญญาว่า "ภควา" (พระผู้มีพระภาคเจ้า) คัมภีร์พุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายานบันทึกตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล พระโคตมพุทธเจ้าเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งศากยวงศ์ โคตมโคตร อันเป็นราชสกุลวงศ์ที่ปกครองกรุงกบิลพัสดุ์มาช้านาน ก่อนออกผนวชทรงดำรงพระอิสสริยยศเป็นรัชทายาท เมื่อเสด็จออกผนวชและบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ทรงได้รับการถวายพระนามต่าง ๆ อาทิ พระศากยมุนี, พระพุทธโคดม, พระโคดมพุทธเจ้า ฯลฯ แต่ทรงเรียกพระองค์เองว่า ตถาคต แปลว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือ ทรงปฏิญาณว่า ทรงพ้นจากทุกข์ทั้งปวง สำเร็จแล้วซึ่งอรหัตผล.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพระโคตมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพสิทธินายก (ชื่น ปญฺญาธโร)

ระเทพสิทธินายก (ถ่ายที่วัดเชียงทอง หลวงพระบาง โดย พระครูปลัดวุฒิชัย กิตฺติเมธี)พระเทพสิทธินายก (ชื่น ปญฺญาธโร) (นามเดิม: ชื่น แก้วประภา) น.ธ.เอก, ป.ธ.๖ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 - ปัจจุบัน) เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย และเจ้าอาวาสวัดพระสิงห์ (พระอารามหลวง) อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และพระเทพสิทธินายก (ชื่น ปญฺญาธโร) · ดูเพิ่มเติม »

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)

มเด็จพระพุทธชินวงศ์ นามเดิม สุวรรณ เขื่อนเพ็ชร ฉายา สุวณฺณโชโต อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต) · ดูเพิ่มเติม »

สาละ

ละ เป็นพืชในวงศ์ Dipterocarpaceae เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้นสาละลังกา เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และสาละ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองเชียงราย

ตัวเมืองเชียงราย เมืองเชียงราย (80px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย ที่มีศูนย์กลางการบริหาร ศูนย์กลางคมนาคม ศูนย์กลางธุรกิจ และศูนย์กลางทางศาสนาและวัฒนธรรมล้านนาของจังหวัดเชียงราย นับเป็นหนึ่งในอำเภอเมืองที่มีความเจริญมากในภาคเหนือตอนบนรองจากอำเภอเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และอำเภอเมืองเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ดัชนี

วัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2544 สาขาจิตรกรรม ดร.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และถวัลย์ ดัชนี · ดูเพิ่มเติม »

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแท่นวัชรอาสนพุทธบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ต้นโพธิ์ที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่าต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่างหนึ่ง ทำให้พันธ์ุต้นโพกลายเป็นพันธ์ไม้ที่เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล ต้นโพธิ์ในพระพุทธประวัติสองต้นคือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ซึ่งอานันทโพธิ์ยังคงยืนต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยคำว่า "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" นั้น อาจหมายถึงต้นที่อยู่ที่พุทธคยา ต้นโพธิ์ที่สืบมาจากหน่อโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา หรือต้นโพธิ์ที่เป็นอุเทสิกเจดีย์อื่น ๆ ก็ได้ เช่น ต้นโพตามวัดต่าง ๆ ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี 3 ต้นด้วยกัน คือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา, ต้นพระชัยศรีมหาโพธิ์เมืองอนุราธปุระ, และต้นอานันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหาวิหาร แต่ต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมืองอนุราธปุระ ที่นำหน่อพันธ์มาจากพุทธคยา ได้รับการเคารพนับถือและปฏิบัติบูชาด้วยความเคารพอย่างสูงมาตลอดตั้งแต่สองพันปีโดยไม่ขาดช่วง มีการทำกำแพงทองคำและมีชาวพุทธผู้ศรัทธามาทำการสักการะตลอดเวลา ซึ่งต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พุทธคยาที่ถูกทำลายและล้มลงตามธรรมชาติหลายครั้ง และต้นอานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ขาดช่วงการดูแลจากชาวพุทธหลังจากพระพุทธศาสนาเสื่อมไปจากอินเดีย แม้ในประเทศไทย จะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับต้นพระศรีมหาโพธิ์เท่ากับชาวพุทธในศรีลังกา แต่ปรากฏตามความเชื่อในประเทศไทยว่า ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่พุทธคยา เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำปีเกิดสำหรับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง สำหรับชาวล้านนายังมีความเชื่ออีกว่า ต้นโพธิ์เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ช่วยขจัดความทุกข์ได้ จึงมีประเพณีถวายไม้ค้ำโพธิ์ และเครื่องประกอบพิธีกรรม ใต้ต้นโพธิ์ โดยผูกคติกับความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งไม่ใช่ความหมายเดิมของการบูชาต้นพระศรีมหาโพธิ์ตามคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้น เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ (ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดี), วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร (ปลูกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) เป็นต้น แม้การทำลายต้นโพธิ์ตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจะระบุว่าเป็นการทำบาปและหลบหลู่พระรัตนตรัย แต่ในมหาสมณวินิจฉัย ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กล่าวว่าเฉพาะต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่เป็นอุทเทสิกเจดีย์เท่านั้น ต้นโพที่งอกทั่วไปและไม่ได้เป็นอุเทสิกาเจดีย์ คือไม่มีผู้เคารพบูชาในฐานะตัวแทนของพระพุทธเจ้า (เช่นเดียวกับพระพุทธรูป).

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และต้นพระศรีมหาโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอาวาส

้าอาวาส คือพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ปกครองวัด มีหน้าที่ปกครองดูแลอำนวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกำหนดให้วัดหนึ่งมีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด เจ้าอาวาสเป็น พระสังฆาธิการ และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้.

ใหม่!!: วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)และเจ้าอาวาส · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วัดพระสิงห์ (พระอารามหลวง)วัดพระสิงห์ (เชียงราย)วัดพระสิงห์ เชียงราย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »