เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วัจนปฏิบัติศาสตร์

ดัชนี วัจนปฏิบัติศาสตร์

วัจนปฏิบัติศาสตร์ (Pragmatics, จากภาษากรีก Pragma แปลว่า "สิ่งของ" หรือ "การกระทำ") เป็นทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ที่ว่าด้วยการใช้ภาษาของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในสถานการณ์หรือบริบทต่าง ๆ กัน (ศึกษาว่าในสถานการณ์หนึ่ง ๆ ทำไมเราจึงพูดอย่างนั้นและไม่ใช่อย่างอื่น) รวมถึงศึกษาว่าการใช้ภาษาของมนุษย์นั้นมีจุดประสงค์อะไร หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์ หมวดหมู่:สัญศาสตร์.

สารบัญ

  1. 3 ความสัมพันธ์: ภาษาภาษากรีกภาษาศาสตร์

  2. สัญศาสตร์
  3. อรรถศาสตร์

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ดู วัจนปฏิบัติศาสตร์และภาษา

ภาษากรีก

ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

ดู วัจนปฏิบัติศาสตร์และภาษากรีก

ภาษาศาสตร์

ษาศาสตร์ (linguistics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับภาษามนุษย์ ผู้ที่ศึกษาในด้านนี้เรียกว่า นักภาษาศาสตร.

ดู วัจนปฏิบัติศาสตร์และภาษาศาสตร์

ดูเพิ่มเติม

สัญศาสตร์

อรรถศาสตร์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ วจนปฏิบัติศาสตร์