โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รุไบยาตของโอมาร์ คัยยาม

ดัชนี รุไบยาตของโอมาร์ คัยยาม

หน้าปกของ 'รุไบยาตของโอมาร์ คัยยาม' ฉบับภาษาอังกฤษ รุไบยาตของโอมาร์ คัยยาม (Rubaiyat of Omar Khayyam) เป็นบทกวีภาษาเปอร์เซีย ที่เรียกว่า รุไบยาต แต่งโดย โอมาร์ คัยยาม (Omar Khayyam, ค.ศ. 1048 – ค.ศ. 1131) กวีและนักปราชญ์ชาวเปอร์เซีย (อิหร่าน) เป็นบทกวีที่มีลีลาอันไพเราะ เปรียบเปรยศาสนาของผู้นับถือในยุคสมัยนั้น และเชิญชวนมนุษย์ทั้งหลายให้รีบหาความสนุกสบายต่าง ๆ ในโลก ด้วยการเสพสุขจากรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส นอกจากจะเป็นบทกวีที่มีความไพเราะแล้ว ยังแสดงคุณค่าทางปรัชญาชีวิตอันลึกซึ้ง.

20 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2402พ.ศ. 2457พ.ศ. 2508พ.ศ. 2513พ.ศ. 2521พ.ศ. 2528พ.ศ. 2536พ.ศ. 2546พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พรานบูรพ์พิมล แจ่มจรัสกวีนิพนธ์ภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาเปอร์เซียรุไบยาตหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ประเทศอิหร่านโอมาร์ คัยยามไรน่าน อรุณรังษี

พ.ศ. 2402

ทธศักราช 2402 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1859.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพ.ศ. 2402 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พรานบูรพ์

รานบูรพ์ (ซ้าย) ถ่ายภาพคู่กับแก้ว อัจฉริยะกุล พรานบูรพ์ หรือ จวงจันทร์ จันทร์คณา (29 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 6 มกราคม พ.ศ. 2519) นักแต่งเพลงไทย เป็นคนแรกผู้ปฏิรูปรูปแบบเพลงไทยประกอบละครร้อง จากท่วงทำนองเพลงไทยเดิมที่มีลูกเอื้อนให้มีลักษณะสากลยิ่งขึ้น อาจกล่าวว่า พรานบูรพ์คือผู้ริเริ่มเพลงไทยสากลก็ได้ มีผลงานสร้างชื่อเสียงคือ ละครร้องเรื่อง "จันทร์เจ้าขา" และ "โรสิตา".

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพรานบูรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิมล แจ่มจรัส

มล แจ่มจรัส (เกิด พ.ศ. 2477 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก กรรมการผู้ตัดสินรางวัลซีไรต์ เป็นนักเขียน นักแปล ผลงานด้านประวัติศาสตร์ และเรื่องราวในราชสำนักไทย เจ้าของนามปากกา "พิมาน แจ่มจรัส" และ "แคน สังคีต" พิมล แจ่มจรัส เกิดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ http://matichon.co.th/news-photo/khaosod/2007/06/03col18180650.txt เคยใช้ชีวิตเป็นครูสอนภาษาไทย เป็นอาจารย์สอนวิชาการเขียน และแต่งตำราเกี่ยวกับการเขียนชื่อ "เขียน" และยังมีผลงานแปลเรื่อง รุไบยาต ของโอมาร์ คัยยาม และแปลผลงานของนากิ๊บ มาห์ฟูซ์ (Naguib Mahfuz) นักเขียนรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและพิมล แจ่มจรัส · ดูเพิ่มเติม »

กวีนิพนธ์

กวีนิพนธ์ (Poetry, Poem, Poesy) คือรูปแบบทางศิลปะที่มนุษย์ใช้ภาษา เพื่อคุณประโยชน์ด้านสุนทรียะ ซึ่งเพิ่มเติมจากเนื้อหาทางความหมาย นับเป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม โดยเป็นคำประพันธ์ที่กวีแต่ง เป็นงานเขียนที่มีวรรณศิลป์ เร้าให้สะเทือนอารมณ์ได้ คำที่มีความหมายทำนองเดียวกันได้แก่ ร้อยกรอง ซึ่งหมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ อีกหลายคำที่มีความหมายทำนองเดียวกับ กวีนิพนธ์ และร้อยกรอง ได้แก่ บทกวี บทประพันธ์ คำประพันธ์ กวีวัจนะ ลำนำ บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานท์ กานท์ รวมทั้งคำว่า ฉันท์ กาพย์ และกลอน ซึ่งในปัจจุบันหมายถึงคำประพันธ์ที่มีรูปแบบต่างกัน ก็เคยใช้ในความหมายเดียวกันกับ กวีนิพนธ์ และ ร้อยกรอง มาในยุคสมัยหนึ่ง ผลงานที่จัดเป็นกวีนิพนธ์เรียกว่า บทกวี ส่วนผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานดังกล่าว เรียกว่า กวี หรือ นักกวี บทกวี คือ ภาษาของอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด คือเครื่องมือที่จะนำสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นข่าวสารออกมาแสดงให้ประจักษ์ ตระหนัก ตระหนก สะทก สะท้อน กวีอาจไม่มีหน้าที่สรุปหรือฟันธงความจริง แต่กวีอาจหมุนแปรคำและความให้เห็นความจริงใหม่ ๆ ของชีวิตหลายด้าน ทั้งเรื่องที่บางทีคนทั่วไปคิดไม่ถึง และแม้แต่ตัวกวีเองก็เพิ่งจะคิดถึง.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและกวีนิพนธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

รุไบยาต

รุไบยาต (رباعی) เป็นคำในภาษาเปอร์เซีย ยืมมาจากภาษาอาหรับ "รุบาอียาต" หมายถึง บทกวี ชนิดหนึ่งซึ่งในหนึ่งบทมีสี่บาท รุไบยาตที่รู้จักกันดี คือ รุไบบาตของโอมาร์ คัยยาม หมวดหมู่:ภาษาเปอร์เซีย หมวดหมู่:ฉันทลักษณ์.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและรุไบยาต · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์

อง ม.จ.อากาศดำเกิงรพีพัฒน์ บนปกหนังสือ ละครแห่งชีวิต หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ (12 พฤศจิกายน 2447 — 18 พฤษภาคม 2475) หรือเป็นที่รู้จักในนามปากกา วรเศวต เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ กับหม่อมอ่อน ทรงได้รับการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และศึกษาต่อชั้นมัธยม 4 ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ แต่สอบตกชั้นมัธยม 7 จึงออกจากโรงเรียน เดินทางไปศึกษาต่อวิชากฎหมายที่สำนักมิดเดิ้ลเทมเปิ้ล กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ แต่โดยที่ไม่โปรดในเรื่องกฎหมาย จึงทรงคลุกคลีอยู่กับหมู่นักหนังสือพิมพ์อังกฤษ จนล้มเหลวในเรื่องการศึกษา แต่โชคดีที่ได้รับพระราชทานทุนจากรัชกาลที่ 7 ให้ไปศึกษาวิชาการต่างประเทศ ที่เมืองจอร์จทาวน์ สหรัฐอเมริกา แต่ประชวรหนักทำให้ต้องเดินทางกลับประเทศไทย ม..

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

โอมาร์ คัยยาม

อมาร์ คัยยาม หลุมศพของโอมาร์ คัยยาม ในเมืองเนชาปูร ประเทศอิหร่าน โอมาร์ คัยยาม (18 พฤษภาคม ค.ศ. 1048 - 4 ธันวาคม ค.ศ. 1131; เปอร์เซีย عمر خیام) เกิดในเมืองเนชาปูร เมืองหลวงของเขตการปกครองคุรอซาน ในเปอร์เซีย (ประเทศอิหร่าน) โอมาร์ คัยยาม เป็นกวี นักปราชญ์ นักดาราศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ และแพทย์ชาวเปอร์เซียที่ได้รับอิทธิพลจากอะบู เรฮัน อัลบิรูนีและอวิเซนนา เขาเป็นผู้ประพันธ์รุไบยาตอันลือชื่อ โดยผลงานของเขาเป็นต้นแบบของผลงานของอัตตาร์แห่งเนชาปูร คัยยามมีชื่อในภาษาอาหรับว่า "ฆิยาษุดดีน อะบุลฟาติฮฺ อุมัร บิน อิบรอฮีม อัลคอยยาม" (غياث الدين ابو الفتح عمر بن ابراهيم خيام نيشابوري) คำว่า "คัยยาม" (خیام) เป็นคำยืมจากภาษาอาหรับ มีความหมายว่า "ผู้สร้างกระโจมพัก" มะลิกชาห์ ญะลาลุดดีน กษัตริย์ราชวงศ์สัลจูกได้มีรับสั่งให้คัยยามมาที่หอดูดาวแห่งใหม่ในเมืองเรย์ (Ray) ในราวปี 1074 เพื่อปฏิรูปแก้ไขปฏิทินสุริยคติที่ใช้ในอิหร่านเป็นเวลานาน คัยยามได้นำเสนอปฏิทินที่มีความถูกต้องแม่นยำและตั้งชื่อว่า อัตตารีค อัลญะลาลีย์ (เพื่อเป็นเกียรติแก่กษัตริย์ญะลาลุดดีน) ซึ่งมีความผิดพลาดเพียงวันเดียวในรอบ 3770 ปี และมีความถูกต้องเหนือกว่าปฏิทินเกรกอเรียนที่มีความผิดพลาด 1 วันใน 3330 ปี.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและโอมาร์ คัยยาม · ดูเพิ่มเติม »

ไรน่าน อรุณรังษี

รน่าน อรุณรังษี อดีตนักการเมืองและนักเขียน, นักแปลชาวไทย นายไรน่านเกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2485 ที่อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นชาวไทยมุสลิม จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง), ปริญญาโทสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอาลีการ์มุสลิม ประเทศอินเดีย, ปริญญาเอก สาขาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น นายไรน่าน เข้าสู่แวดวงการเมืองในช่วงของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ขณะที่จบการศึกษาปริญญาโท เมื่อได้เดินทางกลับมาสู่ประเทศไทย และร่วมกับเพื่อน ๆ จัดตั้งหนังสือพิมพ์ธงไทย, เพชรไทย และมหาราษฎร์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์แนวซ้าย เรียกร้องรัฐธรรมนูญ และขับไล่รัฐบาลในสมัยนั้น ภายหลังเหตุการณ์ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ร่วมร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2517 จากนั้นได้ร่วมกับ ดร.

ใหม่!!: รุไบยาตของโอมาร์ คัยยามและไรน่าน อรุณรังษี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รุไบบาตของโอมาร์ คัยยาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »