โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา

ดัชนี รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา

ต่อไปนี้เป็น รายพระนามและรายนามของผู้ทรงดำรงตำแหน่งและดำรงตำแหน่งอธิบดีและประธานศาลฎีก.

35 ความสัมพันธ์: บัญญัติ สุชีวะชาญชัย ลิขิตจิตถะพ.ศ. 2560พระมหากษัตริย์ไทยพระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช)พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากรมนตรี ยอดปัญญารายนามประธานรัฐสภาไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยวิรัช ลิ้มวิชัยวีระพล ตั้งสุวรรณศักดา โมกขมรรคกุลศาลฎีกาศุภชัย ภู่งามสบโชค สุขารมณ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สวัสดิ์ โชติพานิชสัญญา ธรรมศักดิ์สันติ ทักราลอรรถนิติ ดิษฐอำนาจจำรัส เขมะจารุจินดา บุญยอาคมดิเรก อิงคนินันท์ประกอบ หุตะสิงห์ประมาณ ชันซื่อประวัติ ปัตตพงศ์ปัญญา ถนอมรอดโสภณ รัตนากรไพโรจน์ วายุภาพเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)1 ตุลาคม

บัญญัติ สุชีวะ

ตราจารย์พิเศษ บัญญัติ สุชีวะ (23 เมษายน พ.ศ. 2467 – 4 สิงหาคม พ.ศ. 2540) เป็นอดีตประธานศาลฎีกา และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและบัญญัติ สุชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ลิขิตจิตถะ

นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 และกรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 ที่มี พล.ต.อ.วาสนา เพิ่มลาภเป็นประธานก่อนที่จะเกิดการรัฐประหาร หลังจากที่เกษียณอายุราชแล้วได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาอาวุโสศาลแพ่งธนบุรี แต่ทำงานได้เพียง 2 วันจึงได้ลาออกจากตำแหน่ง ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เคยถูกทาบทามจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในที่สุดทาง คป.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและชาญชัย ลิขิตจิตถะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช)

อำมาตย์เอก พระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา ระหว่าง 1 เมษายน พ.ศ. 2477 - ธันวาคม พ.ศ. 2483 ศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นนักเรียนทุนเล่าเรียนหลวงของโรงเรียนที่มีชื่อจารึกอยู่บนกระดานทองของโรงเรียน ทำงานเป็น อธิบดีศาลฎีกา เมื่อ วันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและพระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)

ระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี มีนามเดิมว่า บุญช่วย วณิกกุล (15 มิถุนายน พ.ศ. 2432 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและพระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ

้าราชการพลเรือนชั้น 1 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ พระนามเดิม พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย เป็นเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ อธิบดีศาลฎีกา และราชเลขานุการฝ่ายกฎหมาย ทรงเป็นต้นราชสกุล '''ศรีธวัช'''.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2398 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2411 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล รับหน้าที่เป็นนายด่าน ทำการก่อสร้างหอพระคันธารราฐ ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งก่อสร้างค้างมาตั้งแต่รัชกาลก่อน ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสังเกตเห็นว่าพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์นี้ มีพระอัธยาศัยนิยมศึกษาตัวบทกฎหมายและอรรถคดี จึงโปรดฯ ให้ไปศึกษากฎหมายและการพิจารณาความกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ ซึ่งทรงบัญชาการศาลรับสั่ง อยู่ในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2417 โปรดให้ตั้งองคมนตรีสภา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นองคมนตรีในครั้งนั้นด้วย และแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยรัฐมนตรี พิจารณาความรับสั่งบางเรื่อง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ตั้งศาลฎีกา ขึ้นในปี พ.ศ. 2419 พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล ทรงเป็นอธิบดีศาลฎีกา พระองค์แรก และทรงได้รับการสถาปนาพระเกียรติยศขึ้นเป็นกรมหมื่นพิชิตปรีชากร และเป็นอธิบดีศาลแพ่งกลาง และศาลแพ่งเกษม อีก 2 ศาล ในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2427 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพิชิตปรีชากร เป็นข้าหลวงขึ้นไปรักษาเมืองเชียงใหม่พระองค์ได้ทรงจัดการศาลต่างประเทศ และจัดการระเบียบการปกครองภาคเหนือใหม่ ต่อมาเมื่อเสด็จกลับกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2428 ทรงได้รับสถาปนาพระเกียรติยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ในปี พ.ศ. 2434 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงเป็นข้าหลวงใหญ่ เสด็จขึ้นไปว่าราชการอยู่ที่มณฑลอีสาน จังหวัดอุบลราชธานี ทรงปรับปรุงการปกครองหัวเมืองทางภาคอีสาน ซึ่งในขณะนั้นเป็นเพียงหัวเมืองชั้นนอก ประมาณ 20 หัวเมืองขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร ยังมิได้รวมเป็นมณฑล ในการเสด็จออกตรวจราชการตามท้องที่ต่าง ๆ ทำให้พระองค์ทรงมีความรู้เกี่ยวกับชายแดนลาว และเขมร เป็นอย่างดี เมื่อเสด็จกลับกรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงพิชิตปรีชากร เป็นผู้พิพากษาฝ่ายไทยร่วมกันพิจารณาคดีความร่วมกับฝรั่งเศส ในกรณีพระยอดเมืองขวาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2437 ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พระองค์ที่สอง สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัตน์วิศิษฎ์ ซึ่งถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง เพื่อเสด็จไปราชการ ณ ประเทศยุโรป และได้เป็นรัฐมนตรีในสภารัฐมนตรีอีกด้วย http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2438/013/102.PDF พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงมีความรู้ด้านการแพทย์ ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่คิดประดิษฐ์ปรุงยาไทยผสมกับยาต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีพระอัจฉริยภาพในด้านการพระนิพนธ์บทร้อยแก้วและร้อยกรองมากมายหลายเรื่อง เช่น ท้ายกาสีหา นางปทุมสังกา พระองค์ยังได้ร่วมกับพระเจ้าพี่ยาเธอ และพระเจ้าน้องยาเธอจัดตั้งหอสมุดวชิรญาณขึ้นในปี พ.ศ. 2423 เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงศึกษาภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เองจนกระทั่งอ่านสามารถ fiction และ novel ภาษาอังกฤษได้คล่อง ทรงนิพนธ์เรื่องสนุกนึก ซึ่งเป็นเรื่องสั้นเรื่องแรก ที่เรียกว่าเป็นบันเทิงคดี ตามแบบอย่างนิยายฝรั่งถือเป็นนิยายเรื่องแรกของไทย ในปี พ.ศ. 2439 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ได้ถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม เพราะทรงพระประชวร และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2452 พระชันษาได้ 53 ปี ทรงเป็นต้นราชสกุลคัคณาง.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ยอดปัญญา

มนตรี ยอดปัญญา (8 สิงหาคม พ.ศ. 2493 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) ประธานศาลฎีกาคนที่ 40.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและมนตรี ยอดปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานรัฐสภาไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและรายนามประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช ลิ้มวิชัย

นายวิรัช ลิ้มวิชัย (13 ตุลาคม พ.ศ. 2490 -) อดีตประธานศาลฎีกาและประธานศาลรัฐธรรมนูญ (ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาอาวุโส) นายวิรัชสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเนติบัณฑิตไทย (สอบได้อันดับที่ 3 ของรุ่นที่ 24) เมื่อปี พ.ศ. 2516 เริ่มรับราชการสอบได้เป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา จากนั้น ได้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้พิพากษาประจำกระทรวง และผู้พิพากษาศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช และศาลจังหวัดเพชรบุรี ปี พ.ศ. 2526 จึงได้ขึ้นเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจำกระทรวง ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลภาษีอากรกลาง และผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอาญาธนบุรี โดยได้เป็นรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาธนบุรี ปี 2537 รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ปี 2539 จากนั้น ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในศาลสูง ได้เป็นประธานศาลอุทธรณ์ ภาค 8 ปี 2546 และประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีกา ในปี พ.ศ. 2548 นายวิรัชดำรงตำแหน่งรองประธานศาลฎีกา และได้รับความไว้วางใจจากนายปัญญา ถนอมรอด ประธานศาลฎีกา แต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีร้องเรียนว่ามีข้าราชการพยายามเสนอสินบนตุลาการรัฐธรรมนูญ ในการพิพากษาคดียุบพรรคการเมือง นายวิรัชดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและวิรัช ลิ้มวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

วีระพล ตั้งสุวรรณ

วีระพล ตั้งสุวรรณ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2494 -) เป็นประธานศาลฎีกา คนที่ 43 เริ่มดำรงตำแหน่งนี้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 และเป็นประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม แทนที่ดิเรก อิงคนินันท์ ที่เกษียณไป.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและวีระพล ตั้งสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา โมกขมรรคกุล

นายศักดา โมกขมรรคกุล (8 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีกา สมรสกับแพทย์หญิง คุณหญิงสำรวย โมกขมรรคกุล.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและศักดา โมกขมรรคกุล · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกา

ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย ภู่งาม

นายศุภชัย ภู่งาม (4 มิถุนายน พ.ศ. 2488 -) องคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและศุภชัย ภู่งาม · ดูเพิ่มเติม »

สบโชค สุขารมณ์

รมณ์ (16 ตุลาคม พ.ศ. 2491 -) ประธานศาลฎีกาคนที่ 39.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและสบโชค สุขารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงเป็นต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นพระมาตุลาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระชนกในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นเจ้านายต่างกรมพระองค์เดียวในชั้นพระองค์เจ้าที่ยังไม่ได้เป็นกรมพระยา ที่ได้รับสมเด็จ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมเป็นพระองค์แรก นอกจากนี้ยังทรงเคยดำรงตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาในระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ โชติพานิช

นายสวัสดิ์ โชติพานิช (เกิด 17 ตุลาคม พ.ศ. 2474 ที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง) อดีตประธานศาลฎีกา อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายสืบสวนสอบสวน ชุดที่ 1 ดำรงตำแหน่งระหว่าง 27 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและสวัสดิ์ โชติพานิช · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ทักราล

นายสันติ ทักราล (8 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554) อดีตองคมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง) และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและสันติ ทักราล · ดูเพิ่มเติม »

อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ

ตราจารย์พิเศษ อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ (24 สิงหาคม พ.ศ. 2487 -) องคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา (1 ต.ค. 2545 - 30 ก.ย. 2547) ประธานสมาคมกฎหมายอาเซียน.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

จำรัส เขมะจารุ

ตราจารย์พิเศษ จำรัส เขมะจารุ (11 สิงหาคม พ.ศ. 2472 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและจำรัส เขมะจารุ · ดูเพิ่มเติม »

จินดา บุญยอาคม

นตา บุณอาคม นายจินตา บุณยอาคม (พ.ศ. 2457 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2530) เป็นอดีตประธานศาลฎีกา และองคมนตรีไท.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและจินดา บุญยอาคม · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก อิงคนินันท์

รก อิงคนินันท์ (31 ตุลาคม พ.ศ. 2493 -) ประธานศาลฎีกาคนที่ 42 เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและดิเรก อิงคนินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ หุตะสิงห์

144x144px ศาสตราจารย์ ประกอบ หุตะสิงห์ (พ.ศ. 2455 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) อดีตประธานศาลฎีกา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รองนายกรัฐมนตรี นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และองคมนตรีไทย ประกอบ หุตะสิงห์ เป็นบุตรของพระยาสรรพกิจเกษตรการ กับคุณหญิง ศวง สรรพกิจ เขาเข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และ เป็นนักเรียนไทยรุ่นแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านนิติศาสตร์ จากประเทศเยอรมัน เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและประกอบ หุตะสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ ชันซื่อ

ประมาณ ชันซื่อ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและประมาณ ชันซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติ ปัตตพงศ์

นายประวัติ ปัตตพงศ์ (หลวงธรรมนูญวุฒิกร) (เกิด พ.ศ. 2446 - 21 มิถุนายน 2515) อดีตประธานศาลฎีกา และได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวงการแบดมินตันของประเทศไทย ใน..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและประวัติ ปัตตพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา ถนอมรอด

นายปัญญา ถนอมรอด (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 -) อดีตประธานศาลฎีกา(คนแรกของไทยที่เกิดรัชกาลที่ 9) และอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์ภาค 1 และกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและปัญญา ถนอมรอด · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ รัตนากร

ตราจารย์พิเศษ โสภณ รัตนากร (เกิด 15 เมษายน พ.ศ. 2474)เป็นที่ปรึกษาในศาลฎีกา ประธานศาลฎีกาคนที่ 26 อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม ฯลฯ.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและโสภณ รัตนากร · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ วายุภาพ

ตราจารย์พิเศษ ไพโรจน์ วายุภาพ (19 กันยายน พ.ศ. 2493 -) อดีตประธานศาลฎีกา,ศาสตราจารย์พิเศษในสาขาวิชากฎหมายแพ่ง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนั้น ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นกรรมการกฤษฎีกาตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและไพโรจน์ วายุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)

้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) มีนามเดิมว่า ลออ ไกรฤกษ์ (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2417 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2499) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายพระนามและรายนามประธานศาลฎีการายพระนามและรายนามประธานศาลฎีกาในประเทศไทยรายพระนามและรายนามประธานศาลฎีกาไทยรายพระนามและนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีการายนามประธานศาลฎีการายนามประธานศาลฎีกาของไทยประธานศาลฎีกา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »