ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปัญญา ถนอมรอดและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา
ปัญญา ถนอมรอดและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาญชัย ลิขิตจิตถะวิรัช ลิ้มวิชัยศาลฎีกา1 ตุลาคม
ชาญชัย ลิขิตจิตถะ
นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 และกรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 ที่มี พล.ต.อ.วาสนา เพิ่มลาภเป็นประธานก่อนที่จะเกิดการรัฐประหาร หลังจากที่เกษียณอายุราชแล้วได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาอาวุโสศาลแพ่งธนบุรี แต่ทำงานได้เพียง 2 วันจึงได้ลาออกจากตำแหน่ง ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เคยถูกทาบทามจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในที่สุดทาง คป.
ชาญชัย ลิขิตจิตถะและปัญญา ถนอมรอด · ชาญชัย ลิขิตจิตถะและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา ·
วิรัช ลิ้มวิชัย
นายวิรัช ลิ้มวิชัย (13 ตุลาคม พ.ศ. 2490 -) อดีตประธานศาลฎีกาและประธานศาลรัฐธรรมนูญ (ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาอาวุโส) นายวิรัชสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเนติบัณฑิตไทย (สอบได้อันดับที่ 3 ของรุ่นที่ 24) เมื่อปี พ.ศ. 2516 เริ่มรับราชการสอบได้เป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา จากนั้น ได้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้พิพากษาประจำกระทรวง และผู้พิพากษาศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช และศาลจังหวัดเพชรบุรี ปี พ.ศ. 2526 จึงได้ขึ้นเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจำกระทรวง ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลภาษีอากรกลาง และผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอาญาธนบุรี โดยได้เป็นรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาธนบุรี ปี 2537 รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ปี 2539 จากนั้น ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในศาลสูง ได้เป็นประธานศาลอุทธรณ์ ภาค 8 ปี 2546 และประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีกา ในปี พ.ศ. 2548 นายวิรัชดำรงตำแหน่งรองประธานศาลฎีกา และได้รับความไว้วางใจจากนายปัญญา ถนอมรอด ประธานศาลฎีกา แต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีร้องเรียนว่ามีข้าราชการพยายามเสนอสินบนตุลาการรัฐธรรมนูญ ในการพิพากษาคดียุบพรรคการเมือง นายวิรัชดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..
ปัญญา ถนอมรอดและวิรัช ลิ้มวิชัย · รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและวิรัช ลิ้มวิชัย ·
ศาลฎีกา
ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).
ปัญญา ถนอมรอดและศาลฎีกา · รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาและศาลฎีกา ·
1 ตุลาคม
วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.
1 ตุลาคมและปัญญา ถนอมรอด · 1 ตุลาคมและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ปัญญา ถนอมรอดและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปัญญา ถนอมรอดและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา
การเปรียบเทียบระหว่าง ปัญญา ถนอมรอดและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา
ปัญญา ถนอมรอด มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา มี 35 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 7.02% = 4 / (22 + 35)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปัญญา ถนอมรอดและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: