โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ดัชนี รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

116 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2403พ.ศ. 2435พ.ศ. 2440พ.ศ. 2447พ.ศ. 2456พ.ศ. 2458พ.ศ. 2472พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2479พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2494พ.ศ. 2500พ.ศ. 2502พ.ศ. 2506พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2530พ.ศ. 2532พ.ศ. 2534พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2539พ.ศ. 2541พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2547พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)พระมหากษัตริย์ไทยพระยาบุเรศผดุงกิจ (รวย พรหโมบล)พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)พระยาอนุสสรธุระการ (จ่าง วัจนะพุกกะ)พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์)...พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบพัชรวาท วงษ์สุวรรณพจน์ บุณยะจินดาพจน์ เภกะนันทน์กุมภาพันธ์มนต์ชัย พันธุ์คงชื่นรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยวัชรพล ประสารราชกิจวิเชียร พจน์โพธิ์ศรีศรีสุข มหินทรเทพสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วงสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สฤษดิ์ ธนะรัชต์สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์สันต์ ศรุตานนท์สำนักงานตำรวจแห่งชาติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)สุรพล จุลละพราหมณ์สุนทร ซ้ายขวัญหลวงชาติตระการโกศล (เจียม ลิมปิชาติ)หลวงรัถยาภิบาลบัญชา (กัปตัน เอส.เย.เอมส์)อีริกเซ็นต์ เย ลอสันอดุล อดุลเดชจรัสอดุลย์ แสงสิงแก้วจักรทิพย์ ชัยจินดาธานี สมบูรณ์ทรัพย์ณรงค์ มหานนท์ประชา พรหมนอกประภาส จารุเสถียรประจวบ สุนทรางกูรประทิน สันติประภพประเสริฐ รุจิรวงศ์ปทีป ตันประเสริฐแสวง ธีระสวัสดิ์โกวิท วัฒนะไสว ไสวแสนยากรเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์เภา สารสินเสรีพิศุทธ์ เตมียเวสเอ.เย.ยาดินเผ่า ศรียานนท์1 ตุลาคม10 กุมภาพันธ์10 สิงหาคม14 ตุลาคม15 ตุลาคม16 ตุลาคม17 ตุลาคม2 กันยายน21 ธันวาคม22 มกราคม22 มีนาคม22 เมษายน24 พฤษภาคม25 ตุลาคม26 ตุลาคม28 พฤศจิกายน29 กุมภาพันธ์30 กันยายน31 มีนาคม4 สิงหาคม5 กุมภาพันธ์8 พฤศจิกายน8 เมษายน9 กันยายน ขยายดัชนี (66 มากกว่า) »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2435 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2440

ทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2440 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2447 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2472 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์

ลตำรวจเอกพรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ต่อจาก พลตำรวจเอกประชา พรหมนอก ซึ่งลาออกไปเล่นการเมือง หลังจากเกษียณอายุราชการไม่ได้ยุ่งเกี่ยวทางการเมืองเลย พลตำรวจเอกพรศักดิ์ เป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 18 รุ่นเดียวกับ พลตำรวจเอกประชา พรหมนอก อดีต ผ.ตร.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)

ลตำรวจตรี พระพิจารณ์พลกิจ (9 มกราคม พ.ศ. 2435 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ ดำรงตำแหน่งระหว่างปี..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาบุเรศผดุงกิจ (รวย พรหโมบล)

ันตำรวจเอก พระยาบุเรศผดุงกิจ พรหโมบล (รวย พรหโมบล) (30 เมษายน 2424 - 30 มกราคม 2509) (อดีตอธิบดีกรมตำรวจ) เกิดที่อำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2424 เป็นบุตรของ นายขำ และนางบุญรอด มีพี่น้อง ทั้งหมด 5 ท่านคือ.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระยาบุเรศผดุงกิจ (รวย พรหโมบล) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)

ลตรี พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา) (Gustave Schau; พ.ศ. 2402-พ.ศ. 2462) เป็นอธิบดีกรมตำรวจภูธรคนที่ 5.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)

ระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ) (23 มกราคม พ.ศ. 2403 -) เป็นอธิบดีกรมกองตระเวน คนที่ 2 อดีตอัครราชทูตสยามประจำกรุงวอชิงตัน และอดีตอัครราชทูตสยามประจำกรุงอังกฤษ.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)

ลตำรวจโท พระยาอธิกรณประกาศ เป็นอธิบดีกรมตำรวจคนที่ 2 ของประเทศไทย และต้นสกุลจาติกวณิช พระยาอธิกรณ์ประกาศ มีชื่อจริงว่าว่า หลุย จาติกวณิช (ชื่อเดิม: ซอ เทียนหลุย) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุสสรธุระการ (จ่าง วัจนะพุกกะ)

ันตำรวจเอก พระยาอนุสสรธุระการ นามเดิม จ่าง เกิดเมื่อวันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระยาอนุสสรธุระการ (จ่าง วัจนะพุกกะ) · ดูเพิ่มเติม »

พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์)

ลตำรวจโท พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์) (27 มีนาคม พ.ศ. 2432 - ???) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 6 และอดีตปลัดกระทรวงมหาดไทยคนที่ 11.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ

ลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482) พระโอรส ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ และหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช ประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ ทรงเป็นทหารบก ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 2 (ปัจจุบันคือ กองทัพภาคที่ 3) ระหว่าง..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ · ดูเพิ่มเติม »

พัชรวาท วงษ์สุวรรณ

ลตำรวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ (เกิด 22 มีนาคม พ.ศ. 2492) ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน) และ กรรมการอิสระ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพัชรวาท วงษ์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พจน์ บุณยะจินดา

ลตำรวจเอก พจน์ บุณยะจินดา อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพจน์ บุณยะจินดา · ดูเพิ่มเติม »

พจน์ เภกะนันทน์

ลตำรวจเอก พจน์ เภกะนันทน์ (26 พฤศจิกายน 2457 - 2536) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและพจน์ เภกะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์

กุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่ 2 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นเดือนที่มีจำนวนวัน 28 หรือ 29 วัน โดยปกติจะมี 28 วัน ยกเว้นปีอธิกสุรทินที่มี 29 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมีน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเล และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำในปลายเดือน.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและกุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

มนต์ชัย พันธุ์คงชื่น

ลตำรวจเอกมนต์ชัย พันธุ์คงชื่น (2 กันยายน พ.ศ. 2464 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและมนต์ชัย พันธุ์คงชื่น · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัชรพล ประสารราชกิจ

ลตำรวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 159/2557 อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอดีตรักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ นับเป็นผู้ใช้อำนาจผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรกที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอก.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและวัชรพล ประสารราชกิจ · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี

ลตำรวจเอก วิเชียร์ พจน์โพธิ์ศรี อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม และอดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและวิเชียร พจน์โพธิ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสุข มหินทรเทพ

ลตำรวจเอก ศรีสุข มหินทรเทพ (19 มกราคม 2460 - 2536) อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยตำรว.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและศรีสุข มหินทรเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง

ลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง (27 ธันวาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 17 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 10 ของประเทศไทย อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

นักทรัพยาการบุคคล รัฐศักดิ์ ทับพุ่ม กำลังศึกษาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการจัดการฟุตบอลอาชีพ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ซึ่งทำหน้าที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศไทย รวมถึงฟุตบอลทีมชาติไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2459 อันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเข้าร่วมกับสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2468 และเข้าร่วมกับสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2500.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

ลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ (20 กันยายน พ.ศ. 2478 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2534 สมาชิกว..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สันต์ ศรุตานนท์

ลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์ นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์,ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสันต์ ศรุตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ (Royal Thai Police Headquarters)เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)

ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีอำนาจหน้าที่ไม่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบการบริหารราชการทั่วไป เสนอแนะนโยบายและการวางแผนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคง และราชการเกี่ยวกับการงบประมาณ ระบบราชการ การบริหารงานบุคคล กฎหมายและการพัฒนากฎหมาย การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การส่งเสริมการลงทุน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การปฏิบัติภารกิจพิเศษและราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของสำนักนายกรัฐมนตรีหรือส่วนราชการที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือที่มิได้อยู่ภายในอำนาจหน้าที่ของกระทรวงใดโดยเฉ.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล จุลละพราหมณ์

ลตำรวจเอก สุรพล จุลละพราหมณ์ (15 กันยายน พ.ศ. 2465 - พ.ศ. 2539) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 18 และอดีตผู้บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2520.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสุรพล จุลละพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร ซ้ายขวัญ

ลตำรวจเอก สุนทร ซ้ายขวัญ อดีตรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2487 ที่ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง โดยที่บิดามารดามีอาชีพทำสวน พล.ต.อ.สุนทร ซ้ายขวัญ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดพระมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช, ระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนพัทลุง จังหวัดพัทลุง,โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช, โรงเรียนสาธิตพิบูลย์บำเพ็ญ วิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน จังหวัดชลบุรี, โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาสามพรานและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพญาไท จากนั้นจึงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยตำรวจสามพรานรุ่นที่ 20 (นรต.20 ร่วมรุ่นกับ พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์) พล.ต.อ.สุนทร ซ้ายขวัญ รับราชการครั้งแรก ในตำแหน่งรองสารวัตรสอบสวนที่สถานีตำรวจนครบาลพญาไท ในปี พ.ศ. 2510 และ ผ.หมว.อ.เมืองนครปฐม ในปี พ.ศ. 2513 จากนั้นจึงย้ายไปประจำอยู่ที่พื้นภาคใต้มาโดยตลอด รวมเป็นระยะเวลากว่า 30 ปี ได้รับการเลื่อนยศและตำแหน่งขึ้นมาเรื่อย ๆ อาทิ ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 9, ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ในกลางปี พ.ศ. 2547 หลังจาก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติได้รับคำสั่งให้ไปช่วยราชการที่สำนักนายกรัฐมนตรี พล.ต.อ.สุนทรจึงได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติแทน หลังเกษียณอายุราชการได้ลงเลือกตั้งเป็น สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549 ได้หมายเลข 87 และได้รับเลือกตั้งมาเป็นลำดับที่ 11 แต่ปฏิบัติหน้าที่ได้เพียงแค่ 5 เดือนก็พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากเกิดเหตุรัฐประหารขึ้น หลังจากนั้นก็ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ปัจจุบัน พล.ต.อ.สุนทร ซ้ายขวัญ ดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 นอกจากนี้ยังดำรงตำแหน่งกิจกรรมทางสังคม ได้แก่ นายกสมาคมชาวปักษ์ใต้ ในพระบรมราชูปถัมภ์, นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และประธานที่ปรึกษามูลนิธิ 5 ธันวา มหาราช เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสุนทร ซ้ายขวัญ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงชาติตระการโกศล (เจียม ลิมปิชาติ)

ลตำรวจเอก หลวงชาติตระการโกศล นามเดิม เจียม ลิมปิชาติ (ได้รับพระราชทานนามสกุลนี้เมื่อครั้งยังเป็นนักเรียนมหาดเล็กหลวง) เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและหลวงชาติตระการโกศล (เจียม ลิมปิชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงรัถยาภิบาลบัญชา (กัปตัน เอส.เย.เอมส์)

หลวงรัถยาภิบาลบัญชา หรือ กัปตัน เอ..เอมส์ มีชื่อเต็มว่า แซมมวล โจเซฟ เบิร์ด เอมส์ (Captain Samuel Joseph Bird Ames; พ.ศ. 2375 - พ.ศ. 2444) ชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองเคนต์ เคยเป็นกัปตันเรือสินค้า เดินทางเข้ามาประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2396 พร้อมกับภรรยาและบุตรชาย 2 คน กัปตัน เอ..เอมส์ รับราชการเมื่อ..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและหลวงรัถยาภิบาลบัญชา (กัปตัน เอส.เย.เอมส์) · ดูเพิ่มเติม »

อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน

มหาอำมาตย์โท อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน (Eric St.J.Lawson) เป็นอธิบดีกรมกองตระเวนคนที่ 4.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและอีริกเซ็นต์ เย ลอสัน · ดูเพิ่มเติม »

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยขณะนั้นหลวงอดุลเดชจรัส มียศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) ประจำกรมทหารปืนใหญ่ นครราชสีมา และได้หนีราชการมาพระนครด้วยรถไฟเพื่อร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนถูกหมายจับจากทางต้นสังกัด ซึ่งตัวของหลวงอดุลเดชจรัสก็ได้อาศัยบ้านของพรรคพวกหลบซ่อนสลับกันไป โดยเฉพาะบ้านของหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท หรือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเวลาต่อมา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นรองหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศไทย ในช่วงปลายสงคราม หลังจากมีการผลัดเปลี่ยนรัฐบาล ซึ่งมีส่วนอย่างมากที่ทำให้การดำเนินงานเสรีไทยเป็นไปโดยราบรื่น ทั้งที่เป็นอธิบดีกรมตำรวจภายใต้รัฐบาลที่เป็นพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในอภิรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และองคมนตรี หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว หลวงอดุลเดชจรัส ยังได้ร่วมกับนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง ก่อตั้งพรรคสหชีพขึ้น โดยมีแนวทางสนับสนุนนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และหัวหน้าขบวนการเสรีไทย โดยหลวงอดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และ นายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและอดุล อดุลเดชจรัส · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ แสงสิงแก้ว

ลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งประธานคณะกรรมการควบคุมการขอทาน กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 9,รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติฝ่ายกิจการพิเศษ, อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 และเป็นผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและอดุลย์ แสงสิงแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

จักรทิพย์ ชัยจินดา

ลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา (ชื่อเล่น: แป๊ะ, เกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2502) ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, นายตำรวจราชสำนักเวร, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน, กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก, กรรมการในคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์, กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางพระพุทธศาสนา, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และการทำประมงผิดกฎหมาย, ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ, กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว, กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559, กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง และ กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการการบริหารการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดใน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธาน บริษัท พรีเมียร์ลีกไทยแลนด์ จำกัด ประธานสโมสร โปลิศ เทโร กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช และ อดีตกรรมการอิสระ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2502 ที่จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรชายของนายประณีต ชัยจินดา นักธุรกิจคนดังแห่งอ่างศิลา และนางเมธินี ชัยจินดา สมรสกับ ดร.บุษบา ชัยจินดา มีบุตรชาย 2 คน จบการศึกษาจากวชิราวุธวิทยาลัย, โรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 36 (นรต.36) ปริญญาโทสาขาบริหารรัฐกิจ จากสหรัฐอเมริกา และศึกษาเพิ่มเติมหลักสูตรการสอบสวน (ATF-ILEA) และหลักสูตรเอฟบีไอ รัฐเนวาดา จากสหรัฐอเมริกา เริ่มต้นรับราชการจากตำแหน่ง นายเวรผู้บังคับการประจำกรมตำรวจ สำนักงานกำลังพล และสารวัตรแผนกสายตรวจรถยนต์และรถจักรยานยนต์ กองกำกับการสายตรวจ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2537-พ.ศ. 2538 ได้ย้ายเข้าสู่กองปราบปรามในตำแหน่งรองผู้กำกับ ในปี พ.ศ. 2539 ได้เป็นนายเวรอธิบดีกรมตำรวจ (พล.ต.อ.พจน์ บุณยะจินดา) จากนั้นได้ทำงานในตำแหน่งงานด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะงานด้านปราบปราม เช่น รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม, รองผู้บังคับการกองตำรวจน้ำ, รองผู้บังคับการกองปราบปราม, ผู้บังคับการกองตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานแห่งชาติ (ผบก.ตม.ทอช.) เป็นต้น โดย พล.ต.อ.จักรทิพย์ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบอีกคนหนึ่ง มีผลงานสำคัญ ๆ เช่น เป็นผู้เจรจาให้ปล่อยตัวประกันซึ่งเป็นผู้บัญชาการเรือนจำสมุทรสาคร กับกลุ่มนักโทษแหกคุกชาวพม่า ในปลายปี พ.ศ. 2543 ร่วมกับ พล.ต.ต.ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 7 (ผู้ช่วย ผบช.ภาค 7-ตำแหน่งและยศในขณะนั้น) เป็นต้น ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล ซึ่งในอีก 6 วันต่อมา คือในวันที่ 7 ตุลาคม นั้นก็ได้เกิดเหตุการการสลายการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาขึ้น โดยเป็นการสลายการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในการชุมนุม 193 วัน โดยตำรวจ ซึ่งในเหตุการครั้งนี้ พล.ต.อ.จักรทิพย์ได้แสดงความมีมนุษยธรรมโดยการถอดเสื้อของตนเองเข้าพยาบาลผู้ได้รับบาดเจ็บซึ่งเป็นฝ่ายพันธมิตรฯด้วย จนได้รับฉายาว่า "สุภาพบุรุษแก๊สน้ำตา" จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2552 ได้ย้ายเป็นรักษาการ ผู้บัญชาการประจำสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ทำหน้าที่ประสานงานสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงมหาดไทย) ก่อนจะได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 สืบต่อจาก พล.ต.ท.สัณฐาน ชยนนท์ นอกเหนือจากการรับราชการตำรวจแล้ว พล.ต.อ.จักรทิพย์ ยังมีตำแหน่งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) และคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) อีกด้วย ข้อมูลส่วนตัว พล.ต.อ.จักรทิพย์ เป็นคนที่ส่วนสูงเพียง 165 เซนติเมตร หนักประมาณ 65 กิโลกรัม ซึ่งถือได้ว่าเป็นบุคคลรูปร่างเล็ก แต่ทว่าเมื่อแต่งเครื่องแบบแล้วจะพกพาอาวุธปืนขนาดต่าง ๆ พร้อมแม็กกาซีนบรรจุกระสุนและอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น กุญแจมือหรือไฟฉาย ติดตัวไว้เสมอ ซึ่งรวมกันทั้งหมดมีน้ำหนักประมาณ 8 กิโลกรัม จนได้รับฉายาจากบุคคลใกล้ชิดว่า "แป๊ะ 8 กิโล" และได้รับฉายาจากสื่อมวลชนเมื่อปลายปี พ.ศ. 2553 ว่า "น.1 อีซี่พาส" เนื่องจากติดยศ พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) อย่างรวดเร็วและเป็นถึงผู้บัญชาการตำรวจนครบาล ทั้ง ๆ ที่เพื่อนร่วมรุ่นบางคนยังเป็นแค่สารวัตรเท่านั้น จึงคาดหมายว่าในอนาคต อาจจะได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เพราะมีอายุราชการนานถึง 10 ปี ต่อมาสมัยรัฐบาลที่มี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น พล.ต.อ.จักรทิพย์ ได้ถูกโยกย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค (ผบช.ภาค 9) โดยมี พล.ต.ท.วินัย ทองสอง เข้ามาดำรงตำแหน่งแทน หลังจากรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ในวันที่ 24 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ได้รับคำสั่งจาก พล.ต.อ.วัชรพล ประสารราชกิจ รักษาการผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ให้ปฏิบัติหน้าที่รักษาการผู้บัญชาการตำรวจนครบาล แทนที่ พล.ต.ท.คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง ที่ได้รับคำสั่งให้ไปปฏิบัติหน้าที่ ศูนย์ราชการพิเศษ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและจักรทิพย์ ชัยจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ธานี สมบูรณ์ทรัพย์

ลตำรวจเอก ธานี สมบูรณ์ทรัพย์ อดีตรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2491 ที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรของนางทองม้วน สมบูรณ์ทรัพย์ ที่มีกิจการของครอบครัวเป็นโรงงานน้ำตาลและมันสำปะหลัง ในวัยเด็กครอบครัวถูกตำรวจที่ไม่ดีคุกคาม จึงเป็นแรงบันดาลใจให้อยากเป็นตำรวจ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชา ปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2511 การศึกษาเพิ่มเติมปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากประเทศสหรัฐอเมริกา, หลักสูตรฝ่ายอำนวยการ รุ่นที่ 4 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก, หลักสูตรการบริหารตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 12, สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ ชีวิตส่วนตัว พล.ต.อ.ธานี มีชื่อเล่นที่เพื่อน ๆ เรียกกันว่า "ล้าน" ทำให้มีชื่อเล่นหนึ่งจากสื่อมวลชนว่า "บิ๊กล้าน" สมรสกับนางชัชชมา สมบูรณ์ทรัพย์ (นามสกุลเดิม: ผดุงไทย) มีบุตรสาวหนึ่งคนชื่อ นางสาวสดีธรณ์ สมบูรณ์ทรัพย์ (ชื่อเล่น: นกฮูก) พล.ต.อ.ธานี รับราชการครั้งแรกในยศร้อยตำรวจตรี (ร.ต.ต.) เมื่อปี พ.ศ. 2516 ในตำแหน่งรองสารวัตร แผนก 3 กองกำกับการ 6 กองบังคับการปราบปราม (รอง สว.ผ.3กก 6 ป.) และเจริญเติบโตในหน้าที่การงานเรื่อยมาจนได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผู้ช่วย ผบช.น.) และเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (รอง ผบช.น.) ก่อนที่จะได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบช.น.) เมื่อปี พ.ศ. 2546 และที่สุดได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบช.น.) เมื่อปี พ.ศ. 2547 จากนั้น พล.ต.อ.ธานีได้ย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (ผบช.ก.) และขึ้นเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ผู้ช่วย ผบ.ตร.) ก่อนที่จะได้เลื่อนเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (รอง ผบ.ตร.) เมื่อปี พ.ศ. 2550 พล.ต.อ.ธานี มีประวัติการทำงานที่ตรงไปตรงมา โปร่งใส จนได้รับฉายาว่า "นายพลไม้บรรทัด" โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อภายหลังการรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2549 ที่มีการเปลี่ยนแปลงขั้วการเมือง พล.ต.อ.ธานีได้พูดประโยคหนึ่งที่มีนัยว่า "บัดนี้ฟ้าเปลี่ยนสีแล้ว" เมื่อรับราชการอยู่ที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีนโยบายมิให้ลูกน้องใต้บังคับบัญชารับเงินส่วยทุกประเภท มีหลายคดีสำคัญ ๆ และอยู่ในความสนใจของสาธารณชนหลายคดีที่ดูแลรับผิดชอบ เช่น การไม่อนุญาตให้เปิดสถานบันเทิงยามราตรีเกินเวลารวมทั้งของนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์, คดีหายตัวไปของนายสมชาย นีละไพจิตร, คดีหายตัวไปของนักธุรกิจชาวซาอุดิอาระเบีย เป็นต้น พล.ต.อ.ธานี สมบูรณ์ทรัพย์ กลายเป็นที่สนใจของสาธารณชนอีกครั้ง เมื่อได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบคดีลอบสังหารนายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ด้วยคำสั่งโดยตรงจากนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี โดยเปลี่ยนหน้าที่นี้จาก พล.ต.อ.จงรัก จุฑานนท์ รอง ผ.ตร.อีกคน ซึ่ง พล.ต.อ.ธานีมีความตั้งใจจะทำให้คดีนี้เป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของตนก่อนจะเกษียณอายุราชการไปในปลายเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2552 ซึ่ง พล.ต.อ.ธานีมีความมั่นใจว่าจะสามารถสรุปคดีนี้ได้ก่อนเกษียณแม้จะมีหลายต่อหลายครั้งที่เป็นข่าวว่ามีอุปสรรคก็ตาม พล.ต.อ.ธานี ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและธานี สมบูรณ์ทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ มหานนท์

ล.ต.อ.ณรงค์ มหานนท์ เป็นอดีตอธิบดีกรมตำรวจ 2525-2530 อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานที่ปรึกษาบริษัท ช.การช่าง จำกั.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและณรงค์ มหานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชา พรหมนอก

ลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี(ฝ่ายความมั่นคง) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายตำรวจมือปราบมีฉายาว่า "อินทรีอีสาน" เนื่องจากเป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นทั้งอธิบดีกรมตำรวจคนสุดท้ายและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรก เนื่องจากมีตำแหน่งสูงสุดในช่วงที่ปรับเปลี่ยนสถานะของกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและประชา พรหมนอก · ดูเพิ่มเติม »

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ สุนทรางกูร

ลเอก พลตำรวจเอก ประจวบ สุนทรางกูร อดีตอธิบดีกรมตำรวจ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและประจวบ สุนทรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

ประทิน สันติประภพ

ณะที่ พล.ต.อ.ประทิน ชกเข้าที่ใบหน้า นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พลตำรวจเอกประทิน สันติประภพ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามสกุลเดิม "ก้อนแก้ว") อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมตำรวจและเป็นบิดาของ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 20.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและประทิน สันติประภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ รุจิรวงศ์

ลเอก พลตำรวจเอก ประเสริฐ รุจิรวงศ์ (4 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 19 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย สมรสกับคุณหญิง น้อย รุจิรวง.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและประเสริฐ รุจิรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปทีป ตันประเสริฐ

ลตำรวจเอก ปทีป ตันประเสริฐ เป็นอดีตแชร์แมนท่าเรือและอดีตจเรตำรวจแห่งชาติ อดีตรักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ มีชื่อเล่นว่า "อ๊อด" เกิดเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 ที่เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ (DSA81) จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 9 (ตท.9) จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่น 25 (นรต.25) รุ่นเดียวกับ พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ อดีตผ.ตร.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและปทีป ตันประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

แสวง ธีระสวัสดิ์

ลตำรวจเอก แสวง ธีระสวัสดิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2474 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 21.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและแสวง ธีระสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนะ

ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและโกวิท วัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

ไสว ไสวแสนยากร

ลตำรวจเอก พลเอก ไสว ไสวแสนยากร (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ,อดีตผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, อดีตแม่ทัพภาคที่ 2, อดีตเจ้ากรมทหารสื่อสาร และอดีตจเรทหารสื่อสาร.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและไสว ไสวแสนยากร · ดูเพิ่มเติม »

เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์

ลตำรวจเอก เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 —) ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษาผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บก.ปส.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึงกันยายน พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เภา สารสิน

ลตำรวจเอก เภา สารสิน (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตอธิบดีกรมตำรวจ ในระหว่างปี..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและเภา สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส

ลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส (ชื่อเดิม: เสรี เตมียเวส) อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เจ้าของฉายา "วีรบุรุษนาแก" และ "มือปราบตงฉิน".

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและเสรีพิศุทธ์ เตมียเวส · ดูเพิ่มเติม »

เอ.เย.ยาดิน

อ..ยาดิน (A.J.Jardine) เป็นอธิบดีกรมกองตระเวนคนที่ 3 ยาดินเป็นชาวอังกฤษชาวอังกฤษผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็น ผู้บังคับการตำรวจในประเทศอินเดี..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและเอ.เย.ยาดิน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและเผ่า ศรียานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 กุมภาพันธ์

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 41 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 324 วันในปีนั้น (325 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ10 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ2 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ22 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 เมษายน

วันที่ 22 เมษายน เป็นวันที่ 112 ของปี (วันที่ 113 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 253 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ22 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ24 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ตุลาคม

วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ25 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ26 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ28 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

29 กุมภาพันธ์

วันที่ 29 กุมภาพันธ์ เรียกวันนี้ว่าเป็นวัน อธิกวาร (leap day) ในเกรกอเรียน ปี..

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ29 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กุมภาพันธ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 36 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 329 วันในปีนั้น (330 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ5 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายนามอธิบดีกรมตำรวจรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติรายนามผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอธิบดีกรมตำรวจอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติผบ.ตรผบ.ตร.

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »