สารบัญ
47 ความสัมพันธ์: บิว กัลยาณีพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)พันธุ์เลิศ บูรณศิลปินพายัพ ปั้นเกตุพิชาญเมธ ม่วงมณีพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยแม่โจ้มอนอินทร์ รินคำยุพราช บัวอินทร์ยงยุทธ สุวภาพระพี สาคริกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูนวัชระ ตันตรานนท์วิภาต บุญศรี วังซ้ายวิสุทธิ์ ไชยณรุณสมพร ยกตรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมานฉันท์ ชมภูเทพสิปปนนท์ เกตุทัตสุนัย จุลพงศธรสง่า สรรพศรีหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุลอรุณี ชำนาญยาอำนวย ยศสุขอุทิศ นาคสวัสดิ์จังหวัดลำพูนจังหวัดสิงห์บุรีจำนงค์ โพธิสาโรจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยาธรรมนูญ ฤทธิมณีธนินท์ เจียรวนนท์ณัฐพงษ์ เกษอินทร์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ปลอดประสพ สุรัสวดีโอภาส พลศิลปเบียร์ช้างเกรน ประชาศรัยสรเดชเลิศรัตน์ รัตนวานิชเจริญ สิริวัฒนภักดีเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนเจ้าเดชา ณ ลำปางเครือเจริญโภคภัณฑ์เฉลิม พรหมเลิศ
บิว กัลยาณี
ว กัลยาณี เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงแนวเพื่อชีวิตสำเนียงใต้.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และบิว กัลยาณี
พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)
อำมาตย์โท ดร.พระช่วงเกษตรศิลปการ (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)
พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)
ระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) พระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต).
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และพระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)
พันธุ์เลิศ บูรณศิลปิน
ร.พันธุ์เลิศ บูรณศิลปิน เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นผู้ริเริ่มปลูกส้มในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และพันธุ์เลิศ บูรณศิลปิน
พายัพ ปั้นเกตุ
นายพายัพ ปั้นเกตุ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสิงห์บุรี.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และพายัพ ปั้นเกตุ
พิชาญเมธ ม่วงมณี
ลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 และอดีตที่ปรึกษาพิเศษ กองทัพบก.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และพิชาญเมธ ม่วงมณี
พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน (เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงราย เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Science and Technology) มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน ส่งเสริม และพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Ministry of Natural Resources and Environment) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสงวน อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และดูแลหน่วยงานราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และมหาวิทยาลัยแม่โจ้
มอนอินทร์ รินคำ
นายมอนอินทร์ รินคำ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และมอนอินทร์ รินคำ
ยุพราช บัวอินทร์
นายยุพราช บัวอินทร์ (เกิด 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และยุพราช บัวอินทร์
ยงยุทธ สุวภาพ
งยุทธ สุวภาพ (12 กันยายน พ.ศ. 2489 -) นายกเทศมนตรีตำบลเมืองงาย อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงคนเดียวของพรรคประชาธิปัตย์ที่ชนะการเลือกตั้ง พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และยงยุทธ สุวภาพ
ระพี สาคริก
ตราจารย์ ระพี สาคริก (4 ธันวาคม พ.ศ. 2465 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) ราษฎรอาวุโส นักวิจัย นักวิชาการเกษตรผู้บุกเบิกวงการกล้วยไม้ของประเทศไทยสู่สากล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นอดีตนายกสภาสถาบันอาศรมศิลป.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และระพี สาคริก
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูน
ในปี พ.ศ. 2324 ภายหลังจากที่พระเจ้ากาวิละ ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้านครเชียงใหม่ ขณะนั้นนครลำพูนยังคงเป็นเมืองร้าง ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ในปี..
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูน
วัชระ ตันตรานนท์
นายวัชระ ตันตรานนท์ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา แบบสรรหา เป็นนักธุรกิจเจ้าของโรงเรียนพาณิชยการลานนา โรงเรียนเทคโนโลยีเอเชีย และโรงเรียนวชิรวิทย์ จังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงเจ้าของกิจการคุ้มขันโตก จังหวัดเชียงใหม.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และวัชระ ตันตรานนท์
วิภาต บุญศรี วังซ้าย
ตราจารย์ ดร.วิภาต บุญศรี วังซ้าย (12 มีนาคม 2459 - 30 ตุลาคม 2527) อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแพร.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และวิภาต บุญศรี วังซ้าย
วิสุทธิ์ ไชยณรุณ
นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 2 ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นสมาชิกกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ในจังหวั.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และวิสุทธิ์ ไชยณรุณ
สมพร ยกตรี
อาจารย์สมพร ยกตรี (6 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2551) เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ในปัจจุบัน ร่วมกับรองศาสตราจารย์ศิริชัย หงษ์วิทยากร และอาจารย์โสภณ มงคลวัจน์ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม..
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และสมพร ยกตรี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สมานฉันท์ ชมภูเทพ
ร.สมานฉันท์ ชมภูเทพ (ชื่อเดิม: สมาน ชมภูเทพ) อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน (อบจ.) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นที่รู้จักในนาม "หนานหล้า".
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และสมานฉันท์ ชมภูเทพ
สิปปนนท์ เกตุทัต
ตราจารย์กิตติคุณ สิปปนนท์ เกตุทัต (23 กุมภาพันธ์ 2474 — 16 กรกฎาคม 2549) ราชบัณฑิตกิตตมศักดิ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ทีมีคุณูปการต่อวงการศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม ท่านเป็นผู้บุกเบิกหลายสิ่งในประเทศ ที่เป็นรากฐานทำให้เกิดองค์กรและโครงการที่ช่วยในการยกระดับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ของประเทศมาโดยลำดับ ท่านมีผลงานเขียน ที่จุดประกายให้เยาวชนไทย และผู้บริหารการพัฒนาประเทศได้ใช้นำทางจำนวนมาก และในวาระที่ท่านดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่านได้กราบทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อนำเอา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และสิปปนนท์ เกตุทัต
สุนัย จุลพงศธร
ร.สุนัย จุลพงศธร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และสุนัย จุลพงศธร
สง่า สรรพศรี
ตราจารย์ สง่า สรรพศรี (วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 29 มกราคม พ.ศ. 2542) เกิดที่ จ.เชียงใหม่ เป็นบุตรของนายมุ่ง และนางอุสา สรรพศรี สมรสกับ ร.วชิรา สรรพศรี มีบุตร 1 คน คือ ร.ดร.ชโยดม สรรพศรี คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.ดร.สง่า สรรพศรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมาชิกวุฒิสภา และตำแหน่งทางวิชาการอื่นๆ หลายตำแหน่ง.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และสง่า สรรพศรี
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล
ร้อยเอกหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2499; ชื่อเล่น: คุณเหลน) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไท.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล
อรุณี ชำนาญยา
อรุณี ชำนาญยา เป็นบุตรของนายบุญธรรม และนางบัวแก้ว ชำนาญยา ซึ่งเป็นเกษตรกรใน.พะเยา จบการศึกษาปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เข้าสู่การเมืองครั้งแรกเมื่อปี..
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และอรุณี ชำนาญยา
อำนวย ยศสุข
อำนวย ยศสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 7 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเชียงใหม.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และอำนวย ยศสุข
อุทิศ นาคสวัสดิ์
.อุทิศ นาคสวัสดิ์ เป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงไทย ผู้ส่งเสริมดนตรีไทย นักเขียน นักจัดรายการวิทยุโทรทัศน์ นักเขียนบทละคร และเป็นศาสตราจารย์ในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และอุทิศ นาคสวัสดิ์
จังหวัดลำพูน
ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และจังหวัดลำพูน
จังหวัดสิงห์บุรี
ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และจังหวัดสิงห์บุรี
จำนงค์ โพธิสาโร
ำนงค์ โพธิสาโร เป็นอดีตนักการเมือง โดยเป็น..
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และจำนงค์ โพธิสาโร
จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
ธรรมนูญ ฤทธิมณี
รองศาสตราจารย์ ธรรมนูญ ฤทธิมณี เป็นอดีตอธิการบดีคนแรกของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ดำรงตำแหน่งในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงฐานะจากวิทยาลัย เป็นสถาบัน.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และธรรมนูญ ฤทธิมณี
ธนินท์ เจียรวนนท์
นินท์ เจียรวนนท์ เป็นประธานอาวุโส เครือเจริญโภคภัณฑ์ และมหาเศรษฐีอันดับที่ 1 ของประเทศไทยจากการจัดอันดับของนิตยสารฟอร์บ โดยข้อมูลกุมภาพันธ์ ปี 2018 มีทรัพย์สิน 9.377 แสนล้านบาท ติดอันดับ 95 ของโลก.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และธนินท์ เจียรวนนท์
ณัฐพงษ์ เกษอินทร์
ณัฐพงษ์ เกษอินทร์ (24 กันยายน ค.ศ. 1992 —) เป็นนักกีฬาว่ายน้ำที่ได้ร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกในปี 2012 จบการศึกษามัธยมปลาย จากโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ระดับอุดมศึกษา ที่ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และณัฐพงษ์ เกษอินทร์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตึกคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ประวัติการก่อตั้ง วันสถาปนาคณะ 3 พฤศจิกายน 2548 ได้ยกฐานะจากภาควิชาภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่เปิดสอนนักศึกษาในหลักสูตร 2ปีต่อเนื่อง (รับนักศึกษาจากสายอาชีวศึกษาเช่น เกษตร เทคนิค เทคนิคสถาปัตย์ ฯ) ตั้งแต่ 2527 เป็นต้นมา จนกระทั่งในปี 2538 ได้เปิดสอน สาขาภูมิสถาปัตยกรรม 5ปี โดยตั้งแต่เริ่มก่อตั้งได้มีคณาจารย์ 3 ท่านที่เป็นผู้บุกเบิกสร้างหลักสูตรขึ้นมา ได้แก่ อาจารย์สมพร ยกตรี (แม่โจ้รุ่น20) อาจารย์โสภณ มงคลวัจน์ (พืชสวน แม่โจ้รุ่น36) และ ร.ศิริชัย หงษ์วิทยากร (Master in Landscape architecture, University of Michigan) http://www.landscape.mju.ac.th.
ปลอดประสพ สุรัสวดี
ปลอดประสพ สุรัสวดี (เกิด: 3 มีนาคม พ.ศ. 2488) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตอธิบดีกรมประมง อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อดีตปลัดกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตผู้อำนวยการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาต.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และปลอดประสพ สุรัสวดี
โอภาส พลศิลป
นายโอภาส พลศิลป (เกิด 2 เมษายน พ.ศ. 2464) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี 3 สมั.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และโอภาส พลศิลป
เบียร์ช้าง
right เบียร์ช้าง เป็นเครื่องดื่มประเภทเบียร์ยี่ห้อหนึ่ง ภายใต้การผลิตของบริษัท เบียร์ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) ได้รับการก่อตั้งเพื่อดำเนินตามนโยบายการค้าเสรี ของอุตสาหกรรมเบียร์ในประเทศ ผลิตเบียร์ช้างที่โดยเด่นด้วยรูปลักษณ์ โดยใช้วัตถุดิบอาทิ มอลท์, ข้าวไทย และฮ็อพ เพื่อให้ได้เบียร์ไทยระดับสากล เบียร์ช้างวางตลาดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเบียร์ช้าง
เกรน ประชาศรัยสรเดช
กรน ประชาศรัยสรเดช หรือ เจ้าเกรน ประชาศรัยสรเดช เป็นอดีตนายกเทศมนตรีเมืองแพร่ 6 สมัย และเป็นผู้บุกเบิกกิจการธนาคารแห่งแรกของจังหวัดแพร่ เป็นบุตรชายของเจ้าทิพเกษร เตมียานนท์ หรือคุณหญิงจงกลนี ประชาศรัยสรเดช (ราชนัดดาเจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์สุดท้าย).
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเกรน ประชาศรัยสรเดช
เลิศรัตน์ รัตนวานิช
ลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการ บริษัท จี สตีล จำกัด (มหาชน) อดีตจเรทหารทั่วไป อดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550อดีตประธานกรรมการ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน).
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเลิศรัตน์ รัตนวานิช
เจริญ สิริวัฒนภักดี
นายกองเอก เจริญ สิริวัฒนภักดี (จีน:苏旭明; พินอิน:Sū Xùmíng) (เคียกเม้ง แซ่โซว, เจริญ ศรีสมบูรณานนท์) (เกิด 2 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเจริญ สิริวัฒนภักดี
เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน
้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน (พ.ศ. 2449 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์โตใน เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าขานแก้วขจรศักดิ์ เจ้าพงศ์ธาดา เป็นผู้เป็นพุทธบริษัท ทำนุบำรุงพรพพุทธศาสนาตลอด และสอนให้บุตรทุกคนประพฤติดี ปฏิบัติชอบ เมื่อครั้งไปรับราชการที่จังหวัดนครปฐม เจ้าพงศ์ธาดา มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 4 ท่าน คือ เจ้าลำเจียก ณ ลำพูน เจ้าวรรณรา ณ ลำพูน เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน และเจ้ารัทธาธร ณ ลำพูน และมีน้องต่างมาดา จำนวน 4 คน คือ เจ้าประกายคำ ณ ลำพูน เจ้าสุริยา ณ ลำพูน เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน และเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน
เจ้าเดชา ณ ลำปาง
้าเดชา ณ ลำปาง (พ.ศ. 2471 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558) เป็นราชบุตรในพระเพชรคีรีศรีสงคราม (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) และเป็นผู้สืบเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าของเจ้าผู้ครองนครลำปาง และหากสยามไม่มีการยกเลิกประเพณีการแต่งตั้งเจ้าผู้ครองนครประเทศราช เจ้าเดชาจะมีสถานะขึ้นเป็นเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 16 แห่งทิพจักราธิวง.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเจ้าเดชา ณ ลำปาง
เครือเจริญโภคภัณฑ์
รือเจริญโภคภัณฑ์ (Charoen Pokphand Group) ย่อเป็นซีพี เป็นกลุ่มธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีธุรกิจหลักคืออาหารและการเกษตรผ่านทางบริษัทลูก เจริญโภคภัณฑ์อาหาร หรือ CPF ซึ่งมีรายรับ 116.5 พันล้านบาท และกำไร 6.747 พันล้านบาท (ข้อมูลปี 2005) นอกจากธุรกิจการเกษตรแล้ว เครือเจริญโภคภัณฑ์ยังทำธุรกิจอื่นๆ อีกหลายชนิด เช่น ธุรกิจค้าปลีกร้านเซเว่น อีเลฟเว่น,ธุรกิจค้าส่งห้างแมคโคร, ธุรกิจโทรคมนาคมในบริษัททรู คอร์ปอเรชั่น เป็นต้น.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเครือเจริญโภคภัณฑ์
เฉลิม พรหมเลิศ
นายเฉลิม พรหมเลิศ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขาถูกตัดสินจำคุกเป็นเวลา 36 ปี ในคดีเกี่ยวกับการซื้อบริการจากเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี (คดีพรากผู้เยาว์) ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพักโทษ.
ดู รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเฉลิม พรหมเลิศ