สารบัญ
132 ความสัมพันธ์: บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีบัส-แตร์บิกีนีอะทอลล์ฟึนพ.ศ. 2534กรีนแลนด์กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชากัวเดอลุปภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์ไต้หวันมหาสมุทรแปซิฟิกมอนต์เซอร์รัตมายอตมาร์ตีนิกมาเก๊ามาเดรามิดเวย์อะทอลล์ยานไมเอนยุโรปตะวันตกรัฐรัฐชัมมูและกัศมีร์รัฐอรุณาจัลประเทศรัฐของสหรัฐรัฐเดี่ยวรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อเขตการปกครองรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่ลาเดซีราดวอชิงตัน ดี.ซี.วาลิสและฟูตูนาสฟาลบาร์สหภาพยุโรปสหประชาชาติสารานุกรมบริตานิกาสาธารณรัฐอาหรับเยเมนสปิตส์เบอร์เกนหมู่เกาะบริติชเวอร์จินหมู่เกาะฟอล์กแลนด์หมู่เกาะพิตแคร์นหมู่เกาะกาลาปาโกสหมู่เกาะกิลเบิร์ตหมู่เกาะสแปรตลีหมู่เกาะคอรัลซีหมู่เกาะคะแนรีหมู่เกาะคุกหมู่เกาะแบลีแอริกหมู่เกาะแฟโรหมู่เกาะโอลันด์หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)... ขยายดัชนี (82 มากกว่า) »
- การจัดอันดับระหว่างประเทศ
- น้ำแบ่งตามประเทศ
- รายชื่อเกี่ยวกับภูมิศาสตร์
บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
ทางอากาศมองเห็นดีเอโกการ์ซีอา บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี (British Indian Ocean Territory) หรือ หมู่เกาะชาโกส เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งอยู่ครึ่งทางระหว่างแอฟริกากับอินโดนีเซีย อาณาเขตครอบคลุมอะทอลล์ทั้ง 6 แห่งที่เชื่อมต่อถึงกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะชาโกส มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะดีเอโกการ์ซีอา ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของกองกำลังผสมสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
บัส-แตร์
นที่ตั้งของบัส-แตร์ (สีแดง) ภายใน กัวเดอลุป บัส-แตร์ (Basse-Terre) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของดินแดนกัวเดอลุป ซึ่งเป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ 5.78 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 11,894 คน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและบัส-แตร์
บิกีนีอะทอลล์
กีนีอะทอลล์ (Bikini Atoll) เป็นอะทอลล์ที่อยู่ในรายชื่อมรดกโลก ตั้งอยู่ในเขตไมโครนีเซียของมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ ประกอบด้วยเกาะ 23 เกาะ ครอบคลุมพื้นที่ 229.4 ตร.ไมล์ (594.1 ตร.กม.) เคยมีการโยกย้ายประชากรออกจากเกาะหลายครั้งเนื่องจากการทดลองระเบิดปรมาณู หมวดหมู่:เกาะในหมู่เกาะมาร์แชลล์.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและบิกีนีอะทอลล์
ฟึน
ฟึน (Fyn; Funen) เป็นเกาะที่มีพื้นที่ 2,984 กม² (1,152 ตร.กม.) เป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศเดนมาร์ก รองจากเกาะกรีนแลนด์ เกาะเชลลันด์ และเกาะเวนด์ซึสเซล-ทือ เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับ 163 ของโลก ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ มีประชากร 454,358 คน (ค.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและฟึน
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและพ.ศ. 2534
กรีนแลนด์
กรีนแลนด์ (Kalaallit Nunaat; Grønland เกฺรินลันฺด) เป็นดินแดนทางเหนือสุดของโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอาร์กติกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ประมาณ 2,175,900 ตารางกิโลเมตร มีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและกรีนแลนด์
กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา
วามขัดแย้งไทย-กัมพูชา เป็นเหตุการณ์ที่เริ่มต้นในเดือนมิถุนายน..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและกรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา
กัวเดอลุป
กัวเดอลุป (Guadeloupe) เป็นเกาะที่มีฐานะเป็นแคว้นของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน มีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 16°15′เหนือ และ 61°35′ตะวันตก มีพื้นที่ 1,628 ตารางกิโลเมตร และมีจำนวนประชากรประมาณ 400,000 คน ซึ่งมากที่สุดในบรรดาดินแดนที่อยู่ในความปกครองของประเทศในยุโรป ที่มีที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ กัวเดอลุปเป็นจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ นอกจากนี้ยังเป็น 1 ใน 18 แคว้นของฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) ด้วย และถือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับสาธารณรั.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและกัวเดอลุป
ภูมิศาสตร์
แผนที่โลก ภูมิศาสตร์ (geography) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ทำการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดวางสิ่งต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่แบ่งแยกสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่น ๆ โดยภูมิศาสตร์พยายามค้นหาเพื่อที่จะตีความให้กระจ่างถึงความสำคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ในรูปของสาเหตุและความเกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ จะมุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพื้นที่มากกว่าที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและสถานที่ต่าง ๆ ของโลกอย่างคร่าว ๆ อย่างที่เคยปฏิบัติขึ้นมาในระยะแรก ๆ ภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแนวทางมาสู่การศึกษารายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้การศึกษานี้พิจารณาว่า "มีสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และแต่ละสิ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร" โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกล่าวว่า เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิดปรากฏการณ์พิเศษในพื้นที่นั้น ๆ ขึ้น และถือว่าเป็น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาของโลก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยจะมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในแต่ละลักษณะที่กล่าวถึง.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ไต้หวัน
กาะไต้หวัน เกาะไต้หวัน (ไถวาน; ภาษาไต้หวัน: Tâi-oân) เป็นเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาธารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเอกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไต้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา (Formosa) หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอามาเป็นอาณานิคม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและภูมิศาสตร์ไต้หวัน
มหาสมุทรแปซิฟิก
มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและมหาสมุทรแปซิฟิก
มอนต์เซอร์รัต
มอนต์เซอร์รัต เป็นดินแดนโพ้นทะเลอังกฤษในทะเลแคริบเบียน ตั้งอยู่ในแนวหมู่เกาะแอนทิลลิสน้อย (Lesser Antilles Islands) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะลีวาร์ด ยาว 16 กิโลเมตร กว้าง 11 กิโลเมตร มีพื้นที่ 40 ตารางกิโลเมตร ชื่อของเกาะมอนเซอร์รัตนี้ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็นผู้ตั้งขึ้นในคราวเดินทางแสวงหาโลกใหม่ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและมอนต์เซอร์รัต
มายอต
มายอต (Mayotte) เป็นแคว้นและจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ทางเหนือของช่องแคบโมซัมบิกในมหาสมุทรอินเดีย ระหว่างประเทศมาดากัสการ์และประเทศโมซัมบิก มายอตเป็นส่วนหนึ่งทางภูมิศาสตร์ของหมู่เกาะคอโมโรส แต่ทางการเมืองนั้นถือเป็นส่วนหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส มายอตยังมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า มาออเร (Mahoré) โดยเฉพาะโดยคนที่ต้องการให้มายอตไปรวมอยู่ในสหภาพคอโมโร.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและมายอต
มาร์ตีนิก
มาร์ตีนิก (Martinique) เป็นเกาะทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียน ในหมู่เกาะวินด์เวิร์ด เป็นแคว้นโพ้นทะเลและจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ 1,128 ตารางกิโลเมตร (436 ตารางไมล์) มีเมืองหลวงชื่อ ฟอร์-เดอ-ฟร็องส์ ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตอนเหนือของอ่าวชื่อเดียวกัน ภูมิประเทศเป็นภูเขา มีภูเขาไฟมงตาญเปอเล อยู่ทางเหนือของเกาะ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ส่งสินค้าออก เช่น น้ำตาล เหล้ารัม กล้วย สับปะรด และซีเมนต์ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เดินทางมาพบเกาะนี้ใน..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและมาร์ตีนิก
มาเก๊า
ตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Macao Special Administrative Region of the People's Republic of China, เรียกสั้น ๆ ว่า มาเก๊า ในภาษาอังกฤษเขียนเป็น Macau และ Macao, อ้าวเหมิน; 馬交 ก็เรียก) เป็นพื้นที่บนชายฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ปกครองโดยประเทศโปรตุเกสก่อนพ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและมาเก๊า
มาเดรา
มาเดรา (Madeira) เป็นหมู่เกาะของประเทศโปรตุเกส ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่ระหว่าง และ เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศโปรตุเกส มาเดรานั้นอยู่ในทวีปยุโรปทางการปกครอง แต่อยู่ในทวีปแอฟริกาในทางภูมิศาสตร์ ชาวโรมันรู้จักเกาะมาเดราในนามหมู่เกาะสีม่วง (Purple Islands) ถูกค้นพบโดยนักเดินเรือชาวโปรตุเกสในต้นปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและมาเดรา
มิดเวย์อะทอลล์
แผนที่มิดเวย์อะทอลล์ มิดเวย์อะทอลล์ (Midway Atoll) ตั้งอยู่มหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโก ทางตะวันตก ราว 2,800 ไมล์ทะเล(5,200 กม./3,200 ไมล์) และ ห่างจากโตเกียวทางตะวันออก ราว 2,200ไมล์ทะเล(4,100 กม./2,500 ไมล์) มีพื้นที่ 6.2 ตารางกิโลเมตร มีสภาพเป็นหมู่เกาะปะการัง มีแนวปะการังล้อมรอบ จุดสูงสุดอยู่ที่ 13 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีประชากรทั้งหมด 40 คน เป็นเจ้าหน้าที่ปลาของสหรัฐอเมริกา มีท่าเรือที่สำคัญอยู่บนเกาะแซนด์ มีสนามบินอยู่ 3 แห่ง มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจจากองค์กรของสหรัฐที่อยู่บนหมู่เกาะ การทหารนั้นก็ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ มิดเวย์อะทอลล์ตกเป็นเมืองขึ้นของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและมิดเวย์อะทอลล์
ยานไมเอน
นไมเอน (นอร์เวย์:Jan Mayen) เป็นเกาะในมหาสมุทรอาร์กติก ระหว่างกรีนแลนด์กับนอร์เวย์ มีความยาว 55 กิโลเมตร เนื้อที่ 373 ตารางกิโลเมตร อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศนอร์เวย์ จุดที่สูงที่สุดของยานไมเอนคือภูเขาไฟเบเรนเบร์ก 2277 เมตร ยานไมเอนไม่มีประชากรอยู่อาศัยยกเว้นเจ้าหน้าที่ในศูนย์อุตุนิยมวิทยา มีการอ้างถึงการค้นพบยานไมเอนในประวัติศาสตร์อยู่หลายครั้ง เช่นการค้นพบโดยชาวอังกฤษ เฮนรี ฮัดสัน ในปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและยานไมเอน
ยุโรปตะวันตก
แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและยุโรปตะวันตก
รัฐ
รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก และอาจกล่าวได้ว่า รัฐสามารถคงอยู่ได้แม้จะไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอื่น เพียงแต่รัฐที่ไม่ได้รับการรับรองเหล่านี้ มักจะพบว่าตนประสบอุปสรรคในการเจรจาสนธิสัญญากับต่างประเทศและดำเนินกิจการทางการทูตกับรัฐอื่น องค์ประกอบสำคัญของรัฐ มี 4 ประการ คือ 1.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรัฐ
รัฐชัมมูและกัศมีร์
ตในรัฐชัมมูและกัศมีร์ แสดงถึงเขตการปกครองและบริเวณดินแดนพิพาท รัฐชัมมูและกัศมีร์ หรือ รัฐจัมมูและแคชเมียร์ คือรัฐเหนือสุดของประเทศอินเดีย ดินแดนส่วนมากตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากนั้นยังเป็นบริเวณพิพาทระหว่างอินเดีย ปากีสถาน และจีนด้ว.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรัฐชัมมูและกัศมีร์
รัฐอรุณาจัลประเทศ
ประเทศ รัฐอรุณาจัลประเทศ คือ ดินแดนใต้การปกครองของประเทศอินเดีย แต่ถูกเรียกร้องจากทางการจีนว่าเป็นดินแดนของตนในชื่อว่า ทิเบตใต้ (藏南 ซั่นหนาน) รัฐอรุณาจัลประเทศมีเขตติดต่อกับ รัฐอัสสัมและรัฐนาคาแลนด์ทางใต้ รัฐกะฉิ่น ประเทศพม่าทางตะวันออก ประเทศภูฏานทางตะวันตก และเขตปกครองตนเองทิเบต ประเทศจีนทางทิศเหนือ อรุณาจัลประเทศมีความหมายว่า ดินแดนอาทิตย์อุทัย เนื่องจากตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศอินเดีย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าที่พูดตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นเชื้อสายชาวทิเบต ชาวไท และชาวพม่า โดยมีประชากรร้อยละ 16 เป็นผู้อพยพ เป็นรัฐที่มีชื่อเสียงทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ มีงานศิลปหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรัฐอรุณาจัลประเทศ
รัฐของสหรัฐ
แผนที่ สหรัฐอเมริกา พร้อมทั้งชื่อรัฐ (อะแลสกา และ ฮาวาย ไม่ได้จัดตามมาตราส่วน) รัฐ (State, แต่สำหรับ รัฐเคนทักกี รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐเพนซิลเวเนีย และ รัฐเวอร์จิเนีย ใช้คำว่า Commonwealth) ในสหรัฐอเมริกา เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของสหรัฐอเมริกาซึ่งมีอธิปไตยในการปกครองตนเองร่วมกับรัฐบาลกลาง ประกอบด้วยรัฐทั้งหมด 50 รัฐ ในแต่ละรัฐแบ่งเป็นหลายเคาน์ตี (county) แต่ละเคาน์ตีแบ่งเป็นหลายเมือง (city) แต่ละรัฐมีผู้ว่าการรัฐหนึ่งคน และมีสภานิติบัญญัติประจำรั.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรัฐของสหรัฐ
รัฐเดี่ยว
แผนที่แสดงประเทศที่เป็นรัฐเดี่ยว รัฐเดี่ยว (unitary state) เป็นรัฐซึ่งปกครองเป็นหน่วยเดี่ยว โดยรัฐบาลกลางอยู่ในระดับสูงสุด และเขตการบริหารใด ๆ (ซึ่งเป็นหน่วยงานบริหารระดับย่อยของรัฐ) สามารถใช้อำนาจได้เฉพาะตามที่รัฐบาลกลางเลือกจะมอบหมายให้ทำการแทนเท่านั้น รัฐจำนวนมากในโลกมีรูปแบบรัฐเป็นรัฐเดี่ยว รัฐเดี่ยวตรงข้ามกับรัฐสหพันธ์ (หรือสหพันธรัฐ) ในรัฐเดี่ยว รัฐบาลกลางอาจจัดตั้งหรือยุบหน่วยงานบริหารระดับย่อยของรัฐ และอำนาจของหนวยงานเหล่านี้อาจถูกขยายเพิ่มเติมหรือย่อลงได้ แม้อำนาจทางการเมืองในรัฐเดี่ยวอาจมีการมอบหมายให้ทำการแทนผ่านการมอบอำนาจปกครองสู่รัฐบาลท้องถิ่นโดยบทกฎหมาย หากรัฐบาลกลางยังอยู่ในระดับสูงสุด ซึ่งอาจยกเลิกนิติกรรมของรัฐบาลที่ได้รับมอบอำนาจหรือตัดทอนอำนาจของรัฐบาลท้องถิ่นก็ได้ สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่างหนึ่งของรัฐเดี่ยว สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ซึ่ง ร่วมกับแคว้นอังกฤษ เป็นสี่ประเทศอันประกอบขึ้นเป็นสหราชอาณาจักร มีอำนาจที่ได้รับมอบซึ่งปกครองตนเองระดับหนึ่ง โดบทั้งสกอตแลนด์ เวลส์และไอร์แลนด์เหนือ ต่างมีฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติของตนเอง แต่อำนาจที่ได้รับมอบทั้งหมดล้วนแต่เป็นที่รัฐบาลกลางของอังกฤษมอบหมายให้ทำการแทนทั้งสิ้น ยิ่งไปกว่านั้น รัฐบาลที่ได้รับมอบอำนาจไม่อาจคัดค้านการเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญของพระราชบัญญัติที่รัฐสภาออก และอำนาจของรัฐบาลที่ได้รับมอบอำนาจนั้น รัฐบาลกลาง (หมายถึง รัฐสภาพร้อมด้วยรัฐบาลอันประกอบด้วยคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า) สามารถเพิกถอนหรือลดย่อลงได้ ตัวอย่างเช่น รัฐสภาไอร์แลนด์เหนือเคยถูกพักไว้สี่ครั้ง โดยอำนาจได้ถ่ายโอนไปยังสำนักไอร์แลนด์เหนือของรัฐบาลกลาง ยูเครนเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของรัฐเดี่ยว สาธารณรัฐไครเมียในประเทศมีระดับการปกครองตนเองและมีคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติปกครอง ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 สาธารณรัฐดังกล่าวยังได้มีตำแหน่งประธานาธิบดีซึ่งถูกยุบไปเพราะการโน้มเอียงแบ่งแยกซึ่งเจตนาจะโอนไครเมียให้แก่รัสเซีย หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์การเมือง.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรัฐเดี่ยว
รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง
ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง
รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร
แผนที่ประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประมาณการเมื่อปี 2010 นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประกอบด้วยรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษตามมาตรฐาน ISO 3166-1 ดินแดนซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐเอกราชโดยแบ่งแยกมิได้จะถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเอกราชด้วยเช่นกัน แต่ไม่รวมไปถึงองค์กรระหว่างประเทศ อย่างเช่น สหภาพยุโรป ซึ่งมิได้มีสถานะเป็นรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษซึ่งไม่มีประชากรอยู่อาศัยอย่างถาวร อย่างเช่น การอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือแอนตาร์กติกา ประมาณการประชากรทั่วโลกคิดเป็น คน ตัวเลขซึ่งใช้ในรายชื่อดังกล่าวตั้งอยู่บนประมาณการล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาตินั้น ๆ ที่สามารถยึดถือเอาได้ แต่ถ้าหากไม่มีสถิติที่สามารถถือเอาได้ ตัวเลขจะนำมาจากประมาณการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร
รายชื่อเขตการปกครอง
รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรายชื่อเขตการปกครอง
รายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่
ตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรก หมายเหตุ:ในแต่ละละติจูดในแผนที่อาจทำให้พื้นที่บิดเบือนทำให้การเปรียบเทียบกันโดยแผนที่นี้อาจมีข้อผิดพลาด นี้เป็นรายชื่อรวบรวมเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรกซึ่งนำรวมพื้นที่แหล่งน้ำในเขตการปกครองนั้นๆด้ว.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่
ลาเดซีราด
ลาเดซีราด (La Désirade) เป็นเกาะในแคริบเบียน ตั้งอยู่ทางตะวันออกของกัวเดอลุป ในเลสเซอร์แอนทิลลีส มีพื้นที่ 20.64 กม² (7,97 ตร.ไมล์) และมีประชากร 1,595 คน ในปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและลาเดซีราด
วอชิงตัน ดี.ซี.
กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและวอชิงตัน ดี.ซี.
วาลิสและฟูตูนา
วาลิสและฟูตูนา (Wallis and Futuna; Wallis et Futuna; ภาษาฟากาอูเวอาและภาษาฟูตูนา: Uvea mo Futuna) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา (Territory of the Wallis and Futuna Islands; Territoire des îles Wallis-et-Futuna) เป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ทั้งหมด 264 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 2 หมู่เกาะคือ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและวาลิสและฟูตูนา
สฟาลบาร์
แผนที่สฟาลบาร์ สฟาลบาร์ (Svalbard; Шпицбе́рген, Свальбард) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรอาร์กติก ตั้งอยู่ทางเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ระหว่างนอร์เวย์และขั้วโลกเหนือ ตั้งแต่ละติจูด 74 ถึง 81 องศาเหนือ สฟาลบาร์เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนอร์เวย์ โดยเป็นส่วนที่อยู่เหนือที่สุดของประเทศ มีประชากรอาศัยอยู่บนสามเกาะคือ สปิตส์เบอร์เกน บีเยอร์เนอยา และโฮเปน แรกเริ่ม สฟาลบาร์ได้ถูกใช้เป็นฐานล่าวาฬในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 หลังจากนั้นหมู่เกาะดังกล่าวได้ถูกปล่อยร้าง การทำเหมืองถ่านหินเริ่มต้นขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และชุมชนถาวรหลายแห่งได้รับการจัดตั้งขึ้น สนธิสัญญาสฟาลบาร์ ใน..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและสฟาลบาร์
สหภาพยุโรป
หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและสหภาพยุโรป
สหประชาชาติ
หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและสหประชาชาติ
สารานุกรมบริตานิกา
รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและสารานุกรมบริตานิกา
สาธารณรัฐอาหรับเยเมน
รณรัฐอาหรับเยเมน (Yemen Arab Republic; YAR; الجمهورية العربية اليمنية) หรือ เยเมนเหนือ หรือ เยเมน (ซานา) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยเมนในปัจจุบัน สถาปนาขึ้นในปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและสาธารณรัฐอาหรับเยเมน
สปิตส์เบอร์เกน
ปิตส์เบอร์เกน (Spitsbergen หรือเดิมชื่อ West Spitsbergen; นอร์เวย์: Vest Spitsbergen, Vestspitsbergen) เป็นเกาะใหญ่ที่สุดและเกาะเดียวที่มีคนอาศัยอยู่ในหมู่เกาะสฟาลบาร์ ประเทศนอร์เวย์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของหมู่เกาะ ติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทะเลนอร์วีเจียน และทะเลกรีนแลนด์ เกาะมีพื้นที่ 39,044 ตร.กม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและสปิตส์เบอร์เกน
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หรือ หมู่เกาะเวอร์จินของอังกฤษ (British Virgin Islands) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่กว่า 50 เกาะ มีที่ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางตะวันออกของประเทศจาเมกา เดิมนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิดัตช์ (Dutch Empire) ภายหลังอังกฤษเข้ามาครอบครอง เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (Falkland Islands) หรือ หมู่เกาะมัลบีนัส (Islas Malvinas) เป็นกลุ่มเกาะตั้งอยู่ในหมู่เกาะแอตแลนติกใต้บนไหล่ทวีปปาตาโกเนีย หมู่เกาะหลักอยู่ห่างจากชายฝั่งปาตาโกเนียที่ละติจูดราว 52° ใต้ ไปทางตะวันออกราว 500 กิโลเมตร กลุ่มเกาะมีพื้นที่ 12,173 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยเกาะฟอล์กแลนด์ตะวันออก ฟอล์กแลนด์ตะวันตก และเกาะที่เล็กกว่าอื่นอีก 776 เกาะ หมู่เกาะดังกล่าวเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร มีระดับการปกครองตนเองภายในสูง โดยมีสหราชอาณาจักรรับประกันรัฐบาลที่ดีและรับผิดชอบด้านการป้องกันภัยและการต่างประเทศ เมืองหลวง คือ สแตนลีย์บนเกาะฟอล์กแลนด์ตะวันออก มีการถกเถียงว่าด้วยการค้นพบหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ครั้งแรกและการล่าอาณานิคมโดยชาวยุโรปในกาลต่อมา หลายช่วง หมู่เกาะมีนิคมฝรั่งเศส อังกฤษ สเปนและอาร์เจนตินา อังกฤษสถาปนาการปกครองอีกครั้งใน..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะฟอล์กแลนด์
หมู่เกาะพิตแคร์น
หมู่เกาะพิตแคร์น (Pitcairn Islands; พิตแคร์น: Pitkern Ailen) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า พิตแคร์น (Pitcairn) เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิก ประกอบไปด้วยกลุ่มเกาะ 4 กลุ่ม คือ เกาะพิตแคร์น เกาะแฮนเดอร์สัน เกาะดูซี และเกาะโอเอโน เกาะเหล่านี้ล้วนเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรทั้งสิ้น ซึ่งเขตนี้เป็นอาณานิคมสุดท้ายที่ยังหลงเหลืออยู่ของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแปซิฟิก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะพิตแคร์น
หมู่เกาะกาลาปาโกส
แผนที่โลกแสดงภาพหมู่เกาะกาลาปาโกส ห่างจากชายฝั่งอเมริกาใต้ไปทางตะวันตก อยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร หมู่เกาะกาลาปาโกส (Islas Galápagos; Galápagos Islands) เป็นหมู่เกาะกลางมหาสมุทรแปซิฟิก มีความน่าสนใจทั้งด้านธรณีวิทยา สัตววิทยา และนิเวศวิทยาเป็นอย่างยิ่ง เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเอกวาดอร์ โดยมีชื่อภาษาสเปนอย่างเป็นทางการว่า กลุ่มเกาะโกลอน (Archipiélago de Colón; Islas de Colón) ตั้งอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร ห่างจากทวีปออกไปทางตะวันตก 1,000 กิโลเมตร ในปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะกาลาปาโกส
หมู่เกาะกิลเบิร์ต
รายชื่อเกาะในหมู่เกาะกิลเบิร์ต ตำแหน่งที่ตั้ง หมู่เกาะกิลเบิร์ต (Gilbert Islands) ประกอบด้วยเกาะปะการังวงแหวนรวม 16 เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนใหญ่เป็นเกาะในประเทศคิริบาส เกาะสำคัญที่สุดได้แก่ เกาะตาราวา ที่เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงประเทศคิริบาส มีประชากรอาศัยอยู่เกือบครึ่งหนึ่งของประเทศ เกาะอื่น ๆ คือ บูตารีตารี อาไบอาง อาเบมามา ตาบีเตอูเอ โนโนอูตี และเบรู เกาะเหล่านี้มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมาเป็นเวลานาน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะกิลเบิร์ต
หมู่เกาะสแปรตลี
thumb หมู่เกาะสแปรตลี (Spratly Islands) เป็นดินแดนที่ประกอบด้วยหินโสโครก อะทอลล์ สันดอน เกาะ และเกาะขนาดเล็กมากกว่า 750 แห่งในทะเลจีนใต้, World Lildlife Fund.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะสแปรตลี
หมู่เกาะคอรัลซี
แผนที่ของหมู่เกาะคอรัลซี แผนที่ของดินแดนหมู่เกาะคอรัลซี หมู่เกาะคอรัลซี (Coral Sea Islands) เป็นหมู่เกาะซึ่งเป็นดินแดนของประเทศออสเตรเลีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ รัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย อาณาเขตดินแดนครอบคลุม 780,000 ตารางกิโลเมตรGeoscience Australia.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะคอรัลซี
หมู่เกาะคะแนรี
หมู่เกาะคะแนรี (Canary Islands), คะแนรีส์ (Canaries) หรือ กานาเรียส (Canarias) เป็นหมู่เกาะของราชอาณาจักรสเปน ประกอบด้วยเกาะภูเขาไฟ 7 เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา (โมร็อกโกและเวสเทิร์นสะฮารา) และมีฐานะเป็นแคว้นปกครองตนเองของสเปน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะคะแนรี
หมู่เกาะคุก
หมู่เกาะคุก เป็นเขตปกครองตนเองของนิวซีแลนด์ ประกอบไปด้วยเกาะเล็ก ๆ 15 เกาะ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีพื้นที่ทั้งหมด 240 ตาราง กิโลเมตร รายได้สำคัญของหมู่เกาะคุกมาจากการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมอันดับหนึ่งของประเทศ เนื่องด้วยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งยังมีการส่งผลไม้ขายออกนอกประเทศอีกด้วย หมวดหมู่:ประเทศนิวซีแลนด์ หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:ประเทศที่เป็นเกาะ หมวดหมู่:ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะคุก
หมู่เกาะแบลีแอริก
หมู่เกาะแบลีแอริก (Balearic Islands), หมู่เกาะบาลาอัส (Illes Balears) หรือ หมู่เกาะบาเลอาเรส (Islas Baleares) เป็นกลุ่มเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก ใกล้ชายฝั่งประเทศสเปน เป็นหนึ่งในแคว้นปกครองตนเองของสเปน เมืองหลักคือปัลมา จังหวัดที่แคว้นนี้มีอยู่แห่งเดียวก็มีชื่อเดียวกับชื่อแคว้น.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะแบลีแอริก
หมู่เกาะแฟโร
หมู่เกาะแฟโร (Føroyar เฟอรยาร แปลว่า "เกาะแห่งแกะ") เป็นหมู่เกาะในทวีปยุโรป ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ระหว่างสกอตแลนด์ นอร์เวย์ และไอซ์แลนด์ หมู่เกาะแฟโรเป็นเขตการปกครองตนเองของเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะแฟโร
หมู่เกาะโอลันด์
หมู่เกาะโอลันด์ (ออกเสียง /'oːland/) เป็นหมู่เกาะในทะเลบอลติก ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่ มากกว่า 6,500 เกาะ มีเกาะฟัสตาโอลันด์ (Fasta Åland) เป็นเกาะที่ใหญ่และสำคัญที่สุด หมู่เกาะโอลันด์ตั้งอยู่บริเวณทางเข้าอ่าวบอทเนียระหว่างสวีเดนกับฟินแลน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะโอลันด์
หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)
หมู่เกาะโคโคส (คีลิง) (Cocos (Keeling) Islands) เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของออสเตรเลีย ประกอบไปด้วยอะทอลล์ 2 อะทอลล์ และ 27 เกาะปะการัง ดินแดนนี้ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย อยู่ระหว่างครึ่งทางจากประเทศออสเตรเลียกับประเทศศรีลังกา ที่ 12°07′S 96°54′E.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะโคโคส (คีลิง)
หมู่เกาะเบาน์ตี
หมู่เกาะเบาน์ตี (Bounty Islands) เป็นกลุ่มเกาะเล็ก ๆ 13 เกาะที่ไม่มีคนอยู่อาศัย มีพื้นที่ 330 เอเคอร์ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ทางตะวันออก/ใต้ ของเกาะใต้ ราว 670 กม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะเบาน์ตี
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
กาะเซนต์จอห์น หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ (United States Virgin Islands; USVI) เป็นกลุ่มเกาะกลุ่มหนึ่งในทะเลแคริบเบียนซึ่งเป็นพื้นที่เกาะของสหรัฐอเมริกา ในทางภูมิศาสตร์ หมู่เกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเวอร์จินและตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ดของภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาประกอบด้วยเกาะหลัก 3 เกาะ คือ เกาะเซนต์ครอย (Saint Croix) เกาะเซนต์จอห์น (Saint John) และเกาะเซนต์ทอมัส (Saint Thomas) รวมทั้งเกาะวอเตอร์ (Water Island) และหมู่เกาะเล็ก ๆ โดยรอบอีกเป็นจำนวนหนึ่ง ดินแดนแห่งนี้มีเนื้อที่รวม 346.36 ตารางกิโลเมตร (133.73 ตารางไมล์) จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
ออสเตรเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี
ออสเตรเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี (Australian Antarctic Territory, AAT) เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของทวีปแอนตาร์กติกาที่ประเทศออสเตรเลียอ้างกรรมสิทธิ์ครอบครอง และเป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดที่อ้างโดยชาติใดชาติหนึ่ง ที่ประกอบด้วยหมู่เกาะและดินแดนทางตอนใต้ของละติจูด 60° ใต้ และระหว่างลองจิจูด 45° ตะวันออกถึง 160° ตะวันออก ยกเว้นอาเดลีแลนด์ (ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองจิจูด 136° ตะวันออกถึง 142° ตะวันออก) ทำให้ดินแดนนี้ถูกแบ่งออกจากกันเป็น2ส่วน คือ เวสเทิร์นเอเอที (ส่วนที่ใหญ่กว่า) และอีสเทิร์นเอเอที โดยมีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 5,896,500 ตารางกิโลเมตร ดินแดนนี้เป็นที่อาศัยของผู้ที่ทำงานกับสถานีวิจัยขั้วโลก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและออสเตรเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี
อะโซร์ส
อะโซร์ส (Azores) หรือ อาโซรึช (Açores) เป็นกลุ่มเกาะตั้งอยู่ตอนกลางของมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือ อยู่ทางตะวันตกของกรุงลิสบอนราว 1,500 กิโลเมตร (930 ไมล์) และอยู่ทางตะวันออกของชายฝั่งอเมริกาเหนือราว 3,900 กิโลเมตร (2,400 ไมล์) ประกอบด้วยเกาะภูเขาไฟ เกาะใหญ่ 9 เกาะ และเกาะเล็ก ๆ อีกหลายเกาะ เกาะนี้เป็น 1 ใน 2 ของเขตการปกครองตนเองของโปรตุเกส มีอุตสาหกรรมหลักที่สำคัญคือ การเกษตร กสิกรรม (ผลิตผลจากเนยและชีส) การประมง และการท่องเที่ยว เกาะที่ใหญ่ที่สุดชื่อเกาะเซามีแกล เมืองสำคัญได้แก่ เมืองปงตาแดลกาดาบนเกาะเซามีแกล เมืองออร์ตาบนเกาะไฟยัล และเมืองอังกราดูเอรูอิฌมูบนเกาะตืร์ไซรา จุดสูงสุดชื่อปีกูอัลตู บนเกาะปีกู สูง 2,351 เมตร.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและอะโซร์ส
อัสเซนชัน
อัสเซนชัน (Ascension) เป็นเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก และเป็นดินแดนของสหราชอาณาจักร อัสเซนชันเป็นส่วนหนึ่งของเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา มีพื้นที่ 88 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 880 คน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและอัสเซนชัน
อาหรับ
กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ (عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและอาหรับ
อาเดลีแลนด์
อาเดลีแลนด์ (Adélie Land) หรือ แตร์อาเดลี (Terre Adélie) เป็นส่วนหนึ่งของฝั่งทวีปแอนตาร์กติการะหว่าง 136° E (ไม่ไกลจากแหลมปูร์กัวปาที่พิกัด) และ 142° E (ไม่ไกลจากแหลมแอลเดนที่พิกัด) ที่มีชายฝั่งทะเลยาว 350 กิโลเมตรและลึกเข้าอีก 2,600 กิโลเมตรยังศูนย์กลางที่ขั้วโลกใต้ อาเดลีเป็นหนึ่งในห้าเขตของดินแดนตอนใต้และแอนตาร์กติกาของฝรั่งเศส พื้นที่ 432,000 ตารางกิโลเมตรของอาเดลีแลนด์ส่วนใหญ่ถูกปกคลุมด้วยน้ำแข็ง ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและอาเดลีแลนด์
อำนาจอธิปไตย
อำนาจอธิปไตย (sovereignty) หมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ อำนาจอธิปไตย ย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง ตัวอย่างเช่น ในระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อำนาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือ กษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นต้น อนึ่ง อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ เพราะการจะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากต้องประกอบด้วย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมีอำนาจอธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอำนาจสูงสุด (อำนาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า "รัฐ" ได้.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและอำนาจอธิปไตย
อ่าวกาลีฟอร์เนีย
อ่าวกาลีฟอร์เนียบริเวณพื้นที่สีฟ้าอ่อน อ่าวกาลีฟอร์เนีย (Golfo de California) หรือ อ่าวแคลิฟอร์เนีย (Gulf of California) ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศเม็กซิโก ระหว่างคาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนียกับพื้นที่แผ่นดินใหญ่ของประเทศ พื้นที่อ่าวเกิดจากการที่แนวเปลือกโลกที่เคลื่อนตัวสวนทางกันยาวขึ้นไปทางเหนือถึงเป็นสหรัฐอเมริกา ที่กลายเป็นแนวรอยเลื่อนแซนแอนเดรอั.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและอ่าวกาลีฟอร์เนีย
อ่าวเม็กซิโก
อ่าวเม็กซิโก อ่าวเม็กซิโก (Gulf of Mexico; Golfo de México) ตั้งอยู่ทางใต้ของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันออกของประเทศเม็กซิโก และอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศคิวบา มีพื้นที่ประมาณ 615,000 ตารางไมล์หรือประมาณ 1.6 ล้านตารางกิโลเมตร จุดที่ลึกที่สุดมีความลึกประมาณ 4,384 เมตร ในอ่าวเป็นแหล่งทรัพย์กรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติที่สำคัญของสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก เม็กซิโก หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศเม็กซิโก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและอ่าวเม็กซิโก
ฮ่องกง
องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและฮ่องกง
จอห์นสตันอะทอลล์
อห์นสตันอะทอลล์ จอห์นสตันอะทอลล์ (Johnston Atoll) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ทาง 1328 กิโลเมตรจากทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโฮโนลูลูของฮาวาย มีพื้นที่ทั้งหมด 2.63 ตารางกิโลเมตร บนเกาะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือมูลค้างคาว จอห์นสตันอะทอลล์เป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัยอยู่แน่นอน ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ จอห์นสตันอะทอลล์ยังมีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง และมีท่าเรืออยู่บนเกาะจอห์นสตัน หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและจอห์นสตันอะทอลล์
ทวีป
ทวีป หมายถึง แผ่นดินขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันบนพื้นโลก การแบ่งทวีปในโลกไม่มีมาตรฐานที่แน่นอน โดยทั่วไปทวีป ต้องเป็นพื้นกว้างใหญ่ ไม่รวมพื้นที่ที่จมอยู่ใต้น้ำ และมีเขตแดนเด่นชัดทางภูมิศาสตร.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทวีป
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทวีปยุโรป
ทวีปอเมริกาใต้
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาใต้ แผนที่ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นทวีปที่เส้นศูนย์สูตรโลกพาดผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบข้างด้วยมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก ในทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้เพิ่งจะเคลื่อนมาบรรจบกับทวีปอเมริกาเหนือเมื่อไม่นานมานี้ ทำให้เกิดคอคอดปานามา เทือกเขาแอนดีสที่มีอายุน้อยและไม่หยุดนิ่งพาดผ่านเขตด้านตะวันตกของทวีป ดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขาแอนดีส คือ แอ่งแม่น้ำแอมะซอน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขตป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับ 4 รองจากเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือตามลำดับ ส่วนจำนวนประชากรเป็นอันดับ 5 รองจากเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และอเมริกาเหนือ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาเหนือ
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปแอฟริกา
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทวีปแอฟริกา
ทวีปแอนตาร์กติกา
วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทวีปแอนตาร์กติกา
ทวีปเอเชีย
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทวีปเอเชีย
ทะเลบอลติก
ทะเลบอลติก (Baltic Sea) ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ ห้อมล้อมด้วยคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แผ่นดินใหญ่ของภูมิภาคยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปตะวันออก ภูมิภาคยุโรปกลาง และหมู่เกาะของประเทศเดนมาร์ก ทะเลนี้เชื่อมเข้าสู่ช่องแคบแคตทีแกต (Kattegat) ผ่านทางช่องแคบเออเรซุนด์ (Öresund) ช่องแคบเกรตเบลต์ (Great Belt) และช่องแคบลิตเทิลเบลต์ (Little Belt) ซึ่งหากผ่านช่องแคบแคทีแกตต่อไปก็จะพบช่องแคบสแกเกอร์แรก (Skagerrak) ที่จะเข้าสู่ทะเลเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลบอลติกยังเชื่อมต่อกับทะเลขาวด้วยคลองไวต์ซี (White Sea) และเชื่อมต่อกับทะเลเหนือโดยผ่านทางคลองคีล (Kiel).
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทะเลบอลติก
ทะเลจีนใต้
แผนที่ทะเลจีนใต้ ทะเลจีนใต้ (South China Sea) เป็นทะเลปิดที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ครอบคลุมอาณาบริเวณตั้งแต่ประเทศสิงคโปร์ไปจนถึงช่องแคบไต้หวัน รวมทั้งอ่าวตังเกี๋ยและอ่าวไทย มีเนื้อที่ประมาณ 3,500,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวมีความสำคัญเพราะมีเส้นทางขนส่งทางเรือผ่านคิดเป็นหนึ่งในสามของโลก นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า ใต้พื้นทะเลมีน้ำมันและแก๊สธรรมชาติสำรองขนาดใหญ่ด้วย อาณาเขตของทะเลจีนใต้ อยู่ทางใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่และเกาะไต้หวัน, ตะวันตกของฟิลิปปินส์, ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียและบรูไน, เหนือของอินโดนีเซีย, ตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายูและสิงคโปร์ และตะวันออกของเวียดนาม หมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ มีจำนวนหลายร้อยเกาะ ทะเลและเกาะที่ไม่มีผู้คนอยู่อาศัยส่วนใหญ่นี้เป็นหัวข้อพิพาทอธิปไตยโดยหลายประเทศ ข้อพิพาทเหล่านี้ยังได้สะท้อนในชื่ออันหลากหลายที่ตั้งให้เกาะและทะเล.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทะเลจีนใต้
ทะเลแคริบเบียน
แผนทีภูมิภาคอเมริกากลางและทะเลแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนมองจากอวกาศ (ด้านบนซ้าย) ทะเลแคริบเบียน (Caribbean Sea, หรือ; Mar Caribe) เป็นทะเลเขตร้อนในซีกโลกตะวันตก ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเม็กซิโก ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแผ่นเปลือกโลกแคริบเบียน โดยทางทิศใต้จดทวีปอเมริกาใต้ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้จดประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง และทางทิศเหนือและทิศตะวันออกจดหมู่เกาะแอนทิลลีส ได้แก่ เกาะคิวบา เกาะฮิสปันโยลา เกาะจาเมกา และเกาะเปอร์โตริโกในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีสทางทิศเหนือ ส่วนหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (เช่น เกาะแองกวิลลา เกาะดอมินีกา เกาะเซนต์ลูเซีย) อยู่ทางทิศตะวันออก พื้นที่ทั้งหมดของทะเลแคริบเบียน หมู่เกาะต่าง ๆ ในทะเลนี้ และชายฝั่งที่ติดต่อกัน รวมเรียกกันในชื่อภูมิภาคแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนเป็นหนึ่งในทะเลที่ใหญ่ที่สุด มีเนื้อที่ประมาณ 2,754,000 ตารางกิโลเมตร (1,063,000 ตารางไมล์) จุดที่ลึกที่สุดของทะเลนี้คือ Cayman Trough อยู่ระหว่างคิวบากับจาเมกา ที่ความลึก 7,686 เมตร (25,220 ฟุต) ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ชายฝั่งแคริบเบียนมีอ่าวอยู่หลายแห่ง เช่น อ่าวเวเนซุเอลา อ่าวดาริเอน อ่าวโมสกิโตส และอ่าวฮอนดูรั.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและทะเลแคริบเบียน
คอสไร
อสไร (Kosrae) หรือเดิมชื่อว่า คูซาเย (Kusaie) เป็นเกาะในประเทศไมโครนีเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของหมู่เกาะแคโรไลน์ ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเกาะโปนเปไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 530 กม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและคอสไร
คาบสมุทรจัตแลนด์
คาบสมุทรจัตแลนด์ คาบสมุทรจัตแลนด์ (ภาษาเดนมาร์ก: Jylland; ภาษาเยอรมัน: Jütland) เป็นคาบสมุทรในทวีปยุโรป เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก (ภาคตะวันตกในส่วนที่ไม่ใช่เกาะ) และประเทศเยอรมนี (บริเวณจุดเหนือสุด) โดยมีทะเลบอลติกทางด้านตะวันออก และทะเลเหนือทางด้านตะวันตก จัตแลนด์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและคาบสมุทรจัตแลนด์
คิงแมนรีฟ
แผนที่คิงแมนรีฟ คิงแมนรีฟ (Kingman Reef) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ระหว่างอเมริกันซามัวและรัฐฮาวาย มีพื้นที่ทั้งหมด 1 ตารางกิโลเมตร บนเกาะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือสัตว์น้ำ คิงแมนรีฟเป็นแนวปะการังขนาดเล็ก จึงเป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัยอยู่แน่นอนและไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:แนวปะการัง หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและคิงแมนรีฟ
ตริสตันดากูนยา
ตริสตันดากูนยา (Tristan da Cunha) หรือ ทริสตันดาคูนา เป็นเกาะภูเขาไฟที่ห่างไกลจากแผ่นดินใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ แผ่นดินใหญ่ที่ใกล้ที่สุดคือประเทศแอฟริกาใต้ซึ่งอยู่ห่างออกไป 2,816 กิโลเมตร และห่างจากทวีปอเมริกาใต้ถึง 3,360 กิโลเมตร.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและตริสตันดากูนยา
ตะวันออกกลาง
แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและตะวันออกกลาง
ฉนวนกาซา
ฉนวนกาซา (Gaza Strip; قطاع غزة; רצועת עזה) เป็นชื่อเรียกอาณาบริเวณแคบ ๆ ขนาด 360 ตร.กม. ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในตะวันออกกลาง โดยมีประชากรชาวปาเลสไตน์ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ประมาณ 1.7 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพลี้ภัย โดยในการสำรวจเมื่อเดือนมีนาคม ปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและฉนวนกาซา
ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่
ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ (France métropolitaine, la Métropole, l'Hexagone) คือประเทศฝรั่งเศสที่ตั้งอยู่บนทวีปยุโรป รวมทั้งคอร์ซิกา ซึ่งจะตรงกันข้ามกับประเทศฝรั่งเศสโพ้นทะเล (DOM - TOM) ที่ประกอบด้วยจังหวัดโพ้นทะเล (Départements d'outre-mer: DOM), ดินแดนโพ้นทะเล (Territoires d'outre-mer: TOM) และอาณานิคมโพ้นทะเล (Collectivitiés d'outre-mer: COM) ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่และประเทศฝรั่งเศสโพ้นทะเลรวมกันเป็น สาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งแผ่นดินใหญ่นั้นมีพื้นที่ 81.8% และประชากร 96% ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส จังหวัดโพ้นทะเลทั้งห้าแห่งได้แก่ มาร์ตีนิก กัวเดอลุป เรอูว์นียง เฟรนช์เกียนา และมายอต มีสถานะทางการเมืองเท่ากับจังหวัดในแผ่นดินใหญ่ เมื่อแผ่นดินใหญ่กับจังหวัดโพ้นทะเลทั้งห้ารวมกันมักจะถูกเรียกว่า "ประเทศฝรั่งเศสทั้งหมด" (France entière) โดยหน่วยงานบริหารของประเทศฝรั่งเศส โดยเฉพาะสถาบันอินซี (INSEE) แม้ว่า "ประเทศฝรั่งเศสทั้งหมด" (France entière) จะไม่รวมอาณานิคมโพ้นทะเลและดินแดนโพ้นทะเล ซึ่งมีอำนาจในการปกครองตนเองมากกว่าจังหวัดโพ้นทะเล ในประเทศฝรั่งเศสโพ้นทะเล ชาวฝรั่งเศสที่มาจากประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่มักจะถูกเรียกว่า "เมโทร" (Métro) ซึ่งเป็นคำย่อของคำว่า "เมทรอปอลีแต็ง" (Métropolitain).
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่
ประเทศจีน
ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและประเทศจีน
ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล
ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มักจะถูกนิยามว่าเป็นประเทศที่ถูกปิดล้อมหรือเกือบถูกปิดล้อมด้วยแผ่นดิน ในปี 2551 มีทั้งหมด 45 ประเทศ การเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลนับเป็นข้อด้อยทางภูมิศาสตร์ เพราะนอกจากจะถูกปิดกั้นจากทรัพยากรทางทะเลแล้ว ยังทำให้ไม่สามารถค้าขายทางทะเลได้อีกด้วย ประเทศที่มีชายฝั่งมีแนวโน้มที่จะร่ำรวยกว่าและมีประชากรมากกว่าประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล นอกจากนี้ยังมีคำว่า ทะเลปิด หมายถึงทะเลที่ไม่ได้เชื่อมกับมหาสมุทร เช่น ทะเลแคสเปียน ซึ่งในบางครั้งมองเป็นทะเลสาบ นอกจากนี้ทะเลอื่นๆ เช่น ทะเลดำ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลบอลติก และ ทะเลแดง มีช่องทางออกสู่ทะเลน้อ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล
ประเทศไต้หวัน
ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและประเทศไต้หวัน
ประเทศเดนมาร์ก
นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและประเทศเดนมาร์ก
นากอร์โน-คาราบัค
นากอร์โน-คาราบัค (Nagorno-Karabakh) หรือ อัปเปอร์คาราบัค (Upper Karabakh) เป็นภูมิภาคที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแถบเทือกเขาคอเคซัส ตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคโลเวอร์คาราบัคกับภูมิภาคซียูนิค และครอบคลุมพื้นที่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทิวเขาเลสเซอร์คอเคซัส พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและป่าไม้ นากอร์โน-คาราบัคเป็นดินแดนที่มีข้อพิพาทเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย โดยนานาชาติยอมรับว่าภูมิภาคนี้เป็นส่วนหนึ่งของอาเซอร์ไบจาน แต่ในปัจจุบัน พื้นที่ส่วนใหญ่ของภูมิภาคอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐอาร์ทซัค รัฐเอกราช "โดยพฤตินัย" ซึ่งมีกลุ่มชาติพันธุ์อาร์มีเนียอาศัยอยู่และได้รับการสถาปนาขึ้นบนพื้นที่ของ (อดีต) แคว้นปกครองตนเองนากอร์โน-คาราบัคของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจานไม่ได้ใช้อำนาจทางการเมืองในภูมิภาคนี้นับตั้งแต่การกำเนิดขบวนการคาราบัคในปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและนากอร์โน-คาราบัค
นาคีชีวัน
รณรัฐปกครองตนเองนาคีชีวัน (Nakhchivan Autonomous Republic) เป็นเขตปกครองตนเอง เป็นดินแดนส่วนแยกของประเทศอาเซอร์ไบจาน มีพื้นที่ครอบคลุม 5,500 ตร.กม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและนาคีชีวัน
นิวแคลิโดเนีย
นิวแคลิโดเนีย (New Caledonia) หรือ นูแวล-กาเลดอนี (Nouvelle-Calédonie) ชื่ออื่น ๆ ที่นิยมเรียกได้แก่ "คานากี" (Kanaky) และ "เลอกายู" (Le Caillou) เป็น "อาณานิคมพิเศษ (sui generis collectivity)" (ในทางปฏิบัติ ดินแดนโพ้นทะเล) ของประเทศฝรั่งเศส ประกอบด้วยเกาะหลัก (เกาะกร็องด์แตร์, Grande Terre) และเกาะเล็ก ๆ อื่น ๆ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเมลานีเซียในมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกเฉียงใต้ นิวแคลิโดเนียมีเนื้อที่ 18,575.5 ตารางกิโลเมตร มีขนาดเป็นครึ่งหนึ่งของเกาะไต้หวัน ประชากรที่สำรวจได้เมื่อพ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและนิวแคลิโดเนีย
นีวเว
นีวเว (Niue; นีวเว: Niuē) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มักเรียกว่า "Rock of Polynesia" นีวเวปกครองตนเอง แต่นอกจากนี้ นีวเวยังอยู่ในความสัมพันธ์เสรี (free association) กับประเทศนิวซีแลนด์ด้วย นั่นหมายความว่าประมุขโดยชอบธรรมของนิวซีแลนด์เป็นประมุขรัฐของนีวเวด้วย และความสัมพันธ์ทางการทูตส่วนใหญ่จะจัดโดยนิวซีแลนด์ นีวเวตั้งอยู่ห่างจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของนิวซีแลนด์ 2,400 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในบริเวณสามเหลี่ยมระหว่างประเทศตองงา ประเทศซามัว และหมู่เกาะคุก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและนีวเว
น่านน้ำอาณาเขต
น่านน้ำอาณาเขต (territorial waters) หรือทะเลอาณาเขต (territorial sea) นิยามตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ว่าเป็นแนวน่านน้ำชายฝั่งวัดจากเส้นฐาน (ปกติเป็นน้ำทะเลลงเต็มที่ปานกลาง) ของรัฐชายฝั่งไปไกลที่สุด 12 ไมล์ทะเล (22.2 กิโลเมตร) ทะเลอาณาเขตถือเป็นเขตแดนอธิปไตยของรัฐ แต่เรือต่างด้าว (ทั้งทหารและพลเรือน) ได้รับอนุญาตให้ผ่านน่านน้ำของรัฐอื่นโดยสุจริต อำนาจอธิปไตยนี้ยังขยายรวมน่านฟ้าเหนือและพื้นทะเลใต้น่านน้ำอาณาเขตด้วย ในกฎหมายระหว่างประเทศ การปรับเขตแดนเหล่านี้เรียก การปักปันเขตทางทะเล คำว่า "น่านน้ำอาณาเขต" บางครั้งใช้อย่างไม่เป็นทางการอธิบายน่านน้ำใด ๆ ที่รัฐหนึ่งมีเขตอำนาจ ซึ่งรวมน่านน้ำภายใน เขตนอกน่านน้ำอาณาเขต (contiguous zone) เขตเศรษฐกิจจำเพาะ และอาจรวมไหล่ทวีปด้ว.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและน่านน้ำอาณาเขต
แพลไมราอะทอลล์
แพลไมราอะทอลล์ แพลไมราอะทอลล์ (Palmyra Atoll) เป็นเกาะอยู่ทางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ มีสภาพภูมิอากาศแบบเขตร้อน มีพื้นที่มั้งหมด 11.9 ตารางกิโลเมตร มีจุดสูงสุดที่ 2 เมตร มีเกาะประมาณ 50 เกาะที่มีผักและมะพร้าวขึ้นอยู่บนเกาะ มีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง และมีท่าเรืออยู่ที่ลากูนตะวันตก ในอดีตแพลไมราอะทอลล์เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรฮาวาย ต่อมาสหรัฐอเมริกาได้ผนวกเกาะแห่งนี้พร้อมกับฮาวายเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตน มีการสร้างถนนซึ่งสร้างในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 หมวดหมู่:เกาะในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและแพลไมราอะทอลล์
แยป
แยป หรือ ยาป (Yap) หรือ วาอับ (แยป: Waqab) เป็นหมู่เกาะในหมู่เกาะแคโรไลน์ ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ในรัฐแยปของประเทศไมโครนีเซีย หมู่เกาะนี้ประกอบด้วยเกาะ 4 เกาะซึ่งอยู่ติด ๆ กัน มีเกาะแยปเป็นเกาะใหญ่ที่สุด จากข้อมูลปี..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและแยป
แคว้นปกครองตนเองซาร์ดิเนีย
ซาร์ดิเนีย (Sardinia), ซาร์เดญญา (Sardegna) หรือ ซาร์ดิญญา (ซาร์ดิเนีย: Sardìgna) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (อันดับหนึ่งคือเกาะซิซิลี) มีพื้นที่ 24,090 ตารางกิโลเมตร (9,301 ตารางไมล์) มีแผ่นดินที่อยู่ใกล้ที่สุดได้แก่ (เรียงจากทิศเหนือตามเข็มนาฬิกา) เกาะคอร์ซิกาของประเทศฝรั่งเศส คาบสมุทรอิตาลี ประเทศตูนิเซีย และหมู่เกาะแบลีแอริกของประเทศสเปน แคว้นซาร์ดิเนียเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอิตาลีและเป็นพื้นที่ปกครองตนเองตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐอิตาลี ที่มาของชื่อแคว้นนั้นยังไม่ทราบแน่นอน บางทีอาจมาจากชื่อเรียกของชนเผ่าท้องถิ่นที่เรียกท้องที่นั้นว่า ซาร์ดี.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและแคว้นปกครองตนเองซาร์ดิเนีย
แคว้นปกครองตนเองซิซิลี
ซิซิลี (Sicily) หรือ ซีชีเลีย (Sicilia; Sicìlia) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี มีลักษณะเป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางภาคใต้ของประเทศโดยมีช่องแคบเมสซีนาคั่นระหว่างตัวเกาะกับแผ่นดินใหญ่ เกาะมีพื้นที่ 25,708 ตารางกิโลเมตร นับเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของอิตาลีและในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จุดสูงสุดของเกาะคือภูเขาไฟเอตนา (3,320 เมตร) บนเกาะมีประชากรอาศัยอยู่กว่า 5 ล้านคน เมืองสำคัญได้แก่ ปาแลร์โม (เมืองหลัก) เมสซีนา กาตาเนีย ซีรากูซา ตราปานี เอนนา คัลตานิสเซตตา และอากรีเจนโต ซิซิลีมีประวัติต่อเนื่องยาวนานกว่า 4,000 ปี ด้วยเหตุที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของยุโรป ซิซิลีจึงตกเป็นเป้าหมายของการยึดครองจากชนชาติที่มีอำนาจเข้มแข็งในช่วงเวลาต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่ชาวกรีก โรมัน คาร์เทจ อาหรับ นอร์มัน เยอรมัน ฝรั่งเศส และสเปน แต่ละชาติผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ ขณะเดียวกันก็ได้นำเอาศิลปวัฒนธรรมของตนเข้ามาด้วย เกาะนี้จึงมีสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมที่หลากหลายผสมผสานกัน หากแต่ลงตัว นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยความงามทางธรรมชาติของทั้งชายหาด ทะเล และภูเขาไฟ และด้วยความที่อยู่ห่างไกลออกมา จึงสามารถสัมผัสได้ถึงความเป็นอิตาลีดั้งเดิมอย่างที่หาไม่พบอีกแล้วตามเมืองใหญ่ในอิตาลีภาคพื้นทวีป.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและแคว้นปกครองตนเองซิซิลี
แซนซิบาร์
แผนที่เกาะหลักของแซนซิบาร์ แซนซิบาร์ (Zanzibar) คือชื่อรวมของเกาะ 2 เกาะของประเทศแทนซาเนีย คือ เกาะอุงกูจา (นิยมเรียกว่าเกาะแซนซิบาร์) และเกาะเพมบา เมืองหลวงของแซนซิบาร์ คือเมืองแซนซิบาร์ตั้งอยู่บนเกาะอุงกูจา ซึ่งมีเขตเมืองเก่าเป็นมรดกโลก แซนซิบาร์มีการปกครองตนเอง อย่างไรก็ดี แซนซิบาร์ยังเป็นส่วนหนึ่งของแทนซาเนีย ประชากรของแซนซิบาร์สำรวจเมื่อ..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและแซนซิบาร์
แซ็ง-บาร์เตเลมี
แซ็ง-บาร์เตเลมี (Saint-Barthélemy) เป็นเขตชุมชนโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ดในทะเลแคริบเบียน มีเมืองหลวงคือกุสตาวียา มีพื้นที่ 22.1 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 8,902 คน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและแซ็ง-บาร์เตเลมี
แซ็งปีแยร์และมีเกอลง
อาณานิคมโพ้นทะเลแซงปีแยร์และมีเกอลง (Collectivité territoriale de Saint-Pierre-et-Miquelon; Territorial Collectivity of Saint-Pierre and Miquelon) เป็นดินแดนของประเทศฝรั่งเศส ประกอบด้วยเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือ มีเกาะสำคัญคือ เกาะแซง-ปีแยร์ และเกาะมีเกอลง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา อยู่ห่างจากเกาะนิวฟันด์แลนด์ราว 10 กิโลเมตร มีเมืองหลวงชื่อ แซง-ปีแยร์ ส่งปลาคอดตากแห้งและแช่แข็งเป็นสินค้าออก มีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและแซ็งปีแยร์และมีเกอลง
โลก
"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและโลก
โอเชียเนีย
อเชียเนีย (Oceania) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มของหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก การใช้ในวงแคบ หมายถึง หมู่เกาะพอลินีเซีย (รวมนิวซีแลนด์) หมู่เกาะเมลานีเซีย (รวมนิวกินี) และหมู่เกาะไมโครนีเซีย การใช้ในวงกว้างจะรวมออสเตรเลียเข้าไปด้วย และอาจรวมถึงกลุ่มเกาะมลายู บางทีนำไปใช้ในความหมายที่รวมเอาเกาะอื่นๆ เข้าไว้ เช่น ญี่ปุ่นและหมู่เกาะอาลิวเชียน แต่พบน้อยมาก "โอเชียเนีย" หมายถึง กลุ่มประเทศและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทวีปออสเตรเลียซึ่งเป็นทวีปที่มีขนาดเล็กที่สุด เนื้อที่ราว 7.7 ล้านตารางกิโลเมตร เล็กกว่าทวีปเอเชียถึง 6 เท่า ประกอบด้วย ผืนแผ่นดินที่เป็นที่ตั้งของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะพอลินีเซีย หมู่เกาะไมโครนีเซีย หมู่เกาะเมลานีเซีย ทวีปออสเตรเลีย-โอเชียเนีย เป็นกลุ่มของหมู่เกาะจำนวนมากนับพันเกาะ อย่างไมโครนีเซียมีในครอบครองกว่า 600 เก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและโอเชียเนีย
โทเคอเลา
ทเคอเลา (Tokelau) เป็นเขตการปกครองตนเองกึ่งอาณานิคมของนิวซีแลนด์ โดยประกอบไปด้วยอะทอลล์ทั้งหมด 3 แห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ โทเคอเลาเคยมีชื่อเดิมว่า หมู่เกาะยูเนียน (Union Islands) จนกระทั่งปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและโทเคอเลา
โซโคตรา
ซโคตรา (Socotra, Soqotra) หรือ ซุกุฏรอ (سُقُطْرَى) เป็นชื่อกลุ่มของเกาะ 4 เกาะในทะเลอาหรับและเป็นชื่อเกาะที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มเกาะนั้น โซโคตราตั้งอยู่ใกล้เส้นทางการเดินเรือที่สำคัญและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยเมนอย่างเป็นทางการ กลุ่มเกาะนี้เคยขึ้นกับเขตผู้ว่าการเอเดนอยู่เป็นเวลานาน ใน..
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและโซโคตรา
ไซปัน
สถานที่ตั้งของไซปันบนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ไซปัน (Saipan) เป็นเมืองหลวงของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ตั้งอยู่บนเกาะไซปัน มีประชากร 48,220 คน หมวดหมู่:หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและไซปัน
เฟรนช์เกียนา
ฟรนช์เกียนา (French Guiana) หรือ กุยยานฟร็องแซซ (Guyane française) เป็นจังหวัดโพ้นทะเล (département d'outre-mer) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ทิศเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศบราซิล และทางทิศตะวันตกติดกับประเทศซูรินาม เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศสจังหวัดอื่น ๆ เฟรนช์เกียนายังมีฐานะเป็นแคว้นโพ้นทะเล (région d'outre-mer) ซึ่งเป็น 1 ใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศสด้วย โดยถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับประเทศฝรั่งเศสในทวีปยุโรปและใช้สกุลเงินยูโรเช่นกัน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเฟรนช์เกียนา
เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์
เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์ (French Southern and Antarctic Lands) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศสรวมกับดินแดนในทวีปแอนตาร์กติกาที่ฝรั่งเศสอ้างสิทธิ์ ประกอบด้วยหมู่เกาะแกร์เกแลน (Kerguelen Islands) หมู่เกาะครอเซ (Crozet Islands) เกาะอัมสเตอร์ดัมและเกาะแซ็งปอล (Amsterdam Island and Saint Paul Island) อาเดลีแลนด์ (Adelie Land) และหมู่เกาะกระจายในมหาสมุทรอินเดีย (Scattered Islands in the Indian Ocean) เป็นดินแดนที่ไม่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวร ผู้อาศัยคือทหาร เจ้าหน้าที่พลเรือน นักวิจัยทางวิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์แอนตาร์กติกา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์
เฟร์นันดูจีนอโรนยา
ฟร์นันดูจีนอโรนยา (Fernando de Noronha) เป็นกลุ่มเกาะที่ประกอบด้วยเกาะ 21 เกาะ รวมถึงเกาะขนาดเล็ก ของประเทศบราซิล ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก อยู่ห่างจากชายฝั่งบราซิล 354 กม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเฟร์นันดูจีนอโรนยา
เกรตเลกส์
วเทียมบริเวณเกรตเลกส์ แผนที่ เกรตเลกส์ ทะเลสาบทั้ง 5 แห่ง เกรตเลกส์ (อังกฤษ: Great Lakes) เป็นชื่อเรียกทะเลสาบทั้ง 5 ได้แก่ สุพีเรีย มิชิแกน ฮูรอน อิรี และออนแทรีโอ เป็นกลุ่มของทะเลสาบน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก บางครั้งชาวอเมริกันให้ฉายาว่าเป็น "ชายหาดที่สาม" เนื่องจากอาณาบริเวณที่กว้างขวาง ลักษณะระบบนิเวศ ชายหาดและพื้นที่ชุ่มน้ำขนาดใหญ่ ทำให้ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ทะเลในแผ่นดิน" เพราะปริมาณน้ำจืดในทะเลสาบทั้ง 5 คิดเป็น 20 % ของปริมาณน้ำจืดที่มีอยู่บนโลก ในทางภูมิศาสตร์เส้นแบ่งประเทศของสหรัฐอเมริกาและแคนาดาลากผ่านกลุ่มทะเลสาบเหล่านี้ มีเพียงทะเลสาบเดียวที่อยู่ในสหรัฐอเมริกาคือทะเลสาบมิชิแกน บริเวณนี้เป็นแหล่งแร่เหล็กที่สำคัญของสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะทะเลสาบซุพีเรี.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกรตเลกส์
เกาะบูเว
กาะบูเว (Bouvet; Bouvetøya) เป็นเกาะอาณานิคมของประเทศนอร์เวย์ และเป็นเกาะที่ไกลที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ที่จุดพิกัด โดยเกาะนี้เป็นเกาะที่ห่างที่สุดในโลก เพราะห่างจากแหลมกู๊ดโฮปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 1,600 กิโลเมตร (1,000 ไมล์) และห่างจากแอนตาร์กติกาทางทิศใต้ 1,600 กิโลเมตร (994 ไมล์) เกาะมีพื้นที่ 49 ตร.กม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะบูเว
เกาะกลีแปร์ตอน
เกาะกลีแปร์ตอน (Île de Clipperton) เป็นเกาะปะการัง ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก มีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 10°18′เหนือ และ 109°13′ตะวันตก เกาะกลีแปร์ตอนเป็นดินแดนของประเทศฝรั่งเศส เช่นเดียวกับดินแดนโพ้นทะเลอื่น ๆ เกาะกลีแปร์ตอนมีพื้นที่ 6 ตารางกิโลเมตร และไม่มีประชากรอาศัยอยู่ หมวดหมู่:ประเทศฝรั่งเศส.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะกลีแปร์ตอน
เกาะอีสเตอร์
กาะอีสเตอร์ (Easter Island); เกาะราปานูอี (ราปานูอี: Rapa Nui) หรือ เกาะปัสกวา (Isla de Pascua) ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ในการปกครองของประเทศชิลี ตัวเกาะห่างจากฝั่งประเทศชิลีไปทางทิศตะวันตกกว่า 3,600 กิโลเมตร เกาะที่ใกล้เกาะอีสเตอร์มากที่สุดอยู่ห่างฝั่งจากถึง 2,000 กิโลเมตร จึงได้ชื่อว่าเป็นสถานที่อันโดดเดี่ยวแห่งหนึ่งของโลก ลักษณะของเกาะมีขนาดเล็ก มีพื้นที่เพียง 160 ตารางกิโลเมตร มีความยาว 25 กิโลเมตร เกาะอีสเตอร.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะอีสเตอร์
เกาะฮาวแลนด์
กาะฮาวแลนด์ (Howland Island) อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ เป็นพื้นที่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ภูมิประเทศเป็นเกาะปะการัง มีพื้นที่ทั้งหมด 1.6 ตารางกิโลเมตร และมีทรัพยากรที่สำคัญคือมูลค้างคาว แต่ไม่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวร ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจเหมือนกับจอห์นสตันอะทอลล์ พอลไมราอะทอลล์ เกาะเบเกอร์ สถานะของเกาะฮาวแลนด์มีสภาพเดียวกันกับเกาะเบเกอร์ ปัจจุบันมีสนามบินอยู่ 1 แห่ง แต่ไม่มีท่าเรือ เกาะฮาวแลนด์ เป็นที่ตั้งของ กระโจมกลางวัน แอร์ฮาร์ต ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ อะมีเลีย แอร์ฮาร์ต นักบินสตรี ที่หายสาบสูญ ระหว่างความพยายามทำการบินรอบโลก เกาะฮาวแลนด์ Howland Island seen from space Orthographic projection centered over Howland Island ฮาวแลนด์ ฮาวแลนด์ หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะฮาวแลนด์
เกาะจาร์วิส
กาะจาร์วิส เกาะจาร์วิส (Jarvis Island) มีพื้นที่ทั้งหมด 4.5 ตารางกิโลเมตรเป็นเกาะเดี่ยวในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะปะการัง อยู่ในเขตร้อนชื้น มีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือมูลค้างคาว เกาะจาร์วิสไม่มีน้ำจืดอยู่บนเกาะ เกาะจาร์วิสมีสนามบินอยูหนึ่งแห่งซึ่งสร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2แต่ไม่มีท่าเรือ เกาะจาร์วิสก็เหมือนกับอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือคือไม่มีรัฐบาล ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และไม่มีคนอยู่อาศัย จาร์วิส หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา จาร์วิส จาร์วิส.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะจาร์วิส
เกาะคริสต์มาส
กาะคริสต์มาส (Christmas Island) เป็นเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย เป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของประเทศออสเตรเลีย อยู่ห่างจากเพิร์ท รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 2,600 กิโลเมตร และห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางใต้ 500 กิโลเมตร เกาะนี้มีประชากรทั้งสิ้น 1,493 คน ถูกจัดให้อาศัยอยู่ทางตอนเหนือ โดยอาศัยอยู่ในฟลายอิงฟิชโคฟ (หรือรู้จักกันในนาม "เดอะเซตเทิลเมนต์") ซิลเวอร์ซิตี กัมปง พูนซาน และดรัมไซต์ ส่วนใหญ่ของประชากรจะเป็นชาวจีน ร้อยละ 70 ชาวมลายู ร้อยละ 20 และชาวยุโรป อีกร้อยละ 10 และส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 36 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 25 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 18 และลัทธิเต๋า ร้อยละ 15 ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ แต่ก็ใช้ภาษาจีน และภาษามลายู สื่อสารกัน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะคริสต์มาส
เกาะปีเตอร์ที่ 1
กาะปีเตอร์ที่ 1 เกาะปีเตอร์ที่ 1 (Peter I Island) เป็นเกาะตั้งอยู่ใกล้กับชายฝั่งทวีปแอนตาร์กติกา มีพื้นที่ 154 ตารางกิโลเมตร เกาะปีเตอร์ที่ 1 เป็นดินแดนของทวีปแอนตาร์กติกาที่นอร์เวย์อ้างสิทธิ์ เกาะนี้ไม่มีประชากรอาศัยอยู.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะปีเตอร์ที่ 1
เกาะนอร์ฟอล์ก
เกาะนอร์ฟอล์ก เป็นดินแดนของออสเตรเลีย เป็นเกาะเล็ก ๆ ที่มีประชากรอาศัยอยู่ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีอาณาเขตตั้งอยู่ระหว่าง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนิวแคลิโดเนีย โดยมีเพื่อนบ้านคือ 2 เกาะที่เป็นเขตเกาะของประเทศออสเตรเลีย อยู่ใกล้ ๆ กัน เกาะนอร์ฟอล์กมีเมืองหลวงชื่อคิงส์ตัน แต่ว่าเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะคือเบินต์ไพน์ น หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะนอร์ฟอล์ก
เกาะนาแวสซา
กาะนาแวสซา เกาะนาแวสซา (Navassa Island) หรือ ลานาวาซ (La Navase) เป็นเกาะร้างขนาดเล็กในทะเลแคริบเบียนอยู่ภายใต้การดูแลของสหรัฐอเมริกาผ่านองค์การบริหารปลาและสัตว์ป่าแห่งสหรัฐ (US Fish and Wildlife Service) นอกจากนั้นเฮติได้อ้างกรรมสิทธิ์เหนือเกาะแห่งนี้เช่นเดียวกัน.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะนาแวสซา
เกาะเชลลันด์
เกาะเชลลันด์ หรือ ซีแลนด์ (Sjælland; Zealand) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเดนมาร์ก (7,031 กม²) ใหญ่เป็นอันดับ 96 ของโลก และเป็นเกาะที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 35 ของโลก เมืองหลวงของประเทศ กรุงโคเปนเฮเกน ตั้งอยู่บนเกาะนี้ส่วนหนึ่ง เมืองสำคัญอื่นที่ตั้งอยู่บนเกาะนี้ได้แก่เมือง รอสกิลด์ และเฮลซิงเงอร์ หมวดหมู่:เกาะในประเทศเดนมาร์ก หมวดหมู่:เกาะเชลลันด์.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะเชลลันด์
เกาะเบเกอร์
แผนที่เกาะเบเกอร์ เกาะเบเกอร์ (Baker Island) เป็นเกาะทางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ไม่มีประชากรอยู่อย่างถาวร ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แต่มีทรัพยากรที่มีคุณค่าเช่น ฟอสเฟต เกาะเบเกอร์มีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง เกาะบาร์เกอร์มีพื้นที่ทั้งหมด 1.4 ตารางกิโลเมตร หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา บเกอร์ หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะเบเกอร์
เกาะเวก
กาะเวก (Wake Island) เป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ มีพื้นทีทั้งหมด 6.5 ตารางกิโลเมตร มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะปะการัง ใต้น้ำมีภูเขาไฟอยู่ด้วยและมีแนวปะการังรอบเกาะ เกาะเวกมีเพียงแค่บุคคลในราชการทหารสหรัฐเท่านั้นที่อาศัยอยู่ เกาะเวกมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจทางด้านอาหาร มีระบบโทรศัพท์ดินแดนโพ้นทะเล (OTS) มีสถานีวิทยุแต่ไม่สถานีโทรทัศน์ เกาะเวกมีสนามบินอยู่หนึ่งแห่งบนเกาะเวกแต่ไม่มีท่าเรือ เกาะเวกต่างจากบรรดาดินแดนอาณานิคมของสหรัฐในแปซิฟิกเหนือบางดินแดนเนื่องจากมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังเคยเป็นสมรภูมิในสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกด้ว.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะเวก
เกาะเฮิร์ดและหมู่เกาะแมกดอนัลด์
เกาะเฮิร์ดและหมู่เกาะแมกดอนัลด์ (Heard Island and McDonald Islands) เป็นหมู่เกาะ ตั้งอยู่ใกล้กับแอนตาร์กติก มีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 53°06′ใต้ และ 73°31′ตะวันออก เกาะเฮิร์ดและหมู่เกาะแมกดอนัลด์เป็นดินแดนของประเทศออสเตรเลีย มีพื้นที่ 368 ตารางกิโลเมตร และไม่มีประชากรอาศัยอยู่ หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรอินเดีย หมวดหมู่:เกาะในประเทศออสเตรเลีย หมวดหมู่:รัฐและดินแดนของออสเตรเลีย.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะเฮิร์ดและหมู่เกาะแมกดอนัลด์
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนวิช (South Georgia and the South Sandwich Islands, SGSSI) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ โดยตกเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
เกาะเซนต์มาร์ติน
ซนต์มาร์ติน (Saint Martin), แซ็ง-มาร์แต็ง (Saint-Martin) หรือ ซินต์มาร์เติน (Sint Maarten) เป็นเกาะทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลแคริบเบียน ห่างจากเปอร์โตริโกทางทิศตะวันออกราว 300 กม.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกาะเซนต์มาร์ติน
เกิร์นซีย์
กิร์นซีย์ (Guernsey) หรือ เขตเจ้าพนักงานศาลเกิร์นซีย์ (Bailiwick of Guernsey; Bailliage de Guernesey) เป็นดินแดนปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร เป็นเกาะหนึ่งในหมู่เกาะแชนเนลในช่องแคบอังกฤษ มีเมืองหลวงชื่อเซนต์ปีเตอร์พอร์ต.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเกิร์นซีย์
เรอูนียง
รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเรอูนียง
เวสเทิร์นสะฮารา
วสเทิร์นสะฮารา (Western Sahara; الصحراء الغربية; เบอร์เบอร์: Taneẓroft Tutrimt; Sáhara Occidental) เป็นดินแดนที่มีข้อพิพาทและถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของโมร็อกโกในภูมิภาคมาเกร็บ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือติดกับประเทศโมร็อกโก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศแอลจีเรีย ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศมอริเตเนีย ส่วนทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ประมาณ 266,000 ตารางกิโลเมตร (103,000 ตารางไมล์) เป็นหนึ่งในดินแดนที่มีประชากรเบาบางที่สุดในโลก เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบทะเลทราย มีประชากรประมาณ 500,000 คน เกือบร้อยละ 40 อาศัยอยู่ที่เอลอายูน ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเวสเทิร์นสะฮารา เวสเทิร์นสะฮาราถูกสเปนปกครองจนถึงปลายคริสตศวรรษที่ 20 หลังจากนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของสหประชาชาติตั้งแต่ปี 2506 เป็นต้นมา ซึ่งเกิดจากข้อเรียกร้องของโมร็อกโก เป็นดินแดนที่มีประชากรและพื้นที่มากที่สุดที่อยู่ในรายชื่อนี้ ในปี 2508 สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้มีมติครั้งแรกเกี่ยวกับเวสเทิร์นสะฮารา ในการขอให้สเปนให้เอกราชแก่ดินแดนนี้ หนึ่งปีต่อมามติใหม่ได้รับการรับรองจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเพื่อขอให้มีการลงประชามติโดยสเปนเกี่ยวกับการตัดสินใจด้วยตนเอง ในปี 2518 สเปนได้ยกเลิกการบริหารจัดการดินแดนนี้ไปสู่การจัดการบริหารร่วมโดยโมร็อกโก (ซึ่งได้เรียกร้องสิทธิเหนือดินแดนนี้มาตั้งแต่ปี 2500)และมอริเตเนีย สงครามปะทุขึ้นระหว่างประเทศเหล่านี้กับขบวนการชาตินิยมซาห์ราวี แนวร่วมโปลีซารีโอซึ่งได้ประกาศให้ดินแดนนี้กลายเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีมีรัฐบาลพลัดถิ่นอยู่ในทินดูฟ แอลจีเรีย ต่อมา มอริเตเนียได้ถอนการอ้างสิทธิเหนือดินแดนในปี 2522 และในที่สุดโมร็อกโกก็ได้ควบคุมดินแดนส่วนใหญ่รวมทั้งเมืองสำคัญและทรัพยากรธรรมชาติ องค์การสหประชาชาติพิจารณาว่าแนวร่วมโปลีซารีโอเป็นตัวแทนที่ถูกต้องตามกฎหมายของชาวซาห์ราวีและยืนยันว่าชาวซาห์ราวีมีสิทธิในการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง ในปี 2560 ไม่มีรัฐสมาชิกสหประชาชาติใดให้การยอมรับอำนาจอธิปไตยของโมร็อกโกเหนือดินแดนเวสเทิร์นสะฮารา อย่างไรก็ตาม หลายประเทศได้แสดงการสนับสนุนต่อการรับรองในอนาคตเกี่ยวกับการผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโมร็อกโกในฐานะดินแดนปกครองตนเองของราชอาณาจักร กล่าวโดยสรุป การผนวกดินแดนยังไม่ได้รับความสนใจมากนักในประชาคมนานาชาติเนื่องจากมีกรณีพิพาทเรื่องของการผนวกดินแดนอื่นๆ อีก (เช่น การผนวกดินแดนของรัสเซียในคาบสมุทรไครเมีย) ตั้งแต่ที่สหประชาชาติผลักดันให้มีการทำข้อตกลงหยุดยิงในปี 2534 สองในสามของดินแดน(รวมถึงส่วนใหญ่ของชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก) ถูกปกครองโดยรัฐบาลโมร็อกโกซึ่งได้รับการสนับสนุนแบบลับๆ จากฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา ขณะที่ส่วนที่เหลือถูกปกครองโดยสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากแอลจีเรีย ในระดับนานาชาติ ประเทศต่างๆ เช่น รัสเซียอยู่ในฐานะที่คลุมเครือและเป็นกลางในการอ้างสิทธิของทั้ง 2 ฝ่าย แต่ก็ได้กดดันให้ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องกันในการแก้ปัญหาอย่างสันติ ทั้งโมร็อกโกและโปลีซาริโอต่างพยายามที่จะเพิ่มแรงสนับสนุนในการรับรองดินแดนอย่างเป็นทางการจากชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะชาติจากแอฟริกา เอเชีย และลาตินอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศกำลังพัฒนา แนวร่วมโปลีซาริโอได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการสำหรับการจัดตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีจาก 37 ประเทศ และยังเป็นสมาชิกของสหภาพแอฟริกาต่อไป ขณะที่โมร็อกโกได้รับการยอมรับหรือสนับสนุนจากรัฐบาลประเทศในแอฟริกาหลายแห่ง และส่วนใหญ่จากโลกมุสลิมและสันนิบาตอาหรับ ตลอดสองทศวรรษหลัง การยอมรับที่มีต่อทั้งสองฝ่ายขยายเพิ่มและถดถอยลงตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเวสเทิร์นสะฮารา
เอเชียตะวันออก
แผนที่เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ประมาณ 6,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 15% ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย ประเทศซึ่งมีพื้นที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีดังต่อไปนี้.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเอเชียตะวันออก
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เอเชียเหนือ
อเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียเหนือ (North Asia หรือ Northern Asia) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในเอเชียที่ประกอบด้วยประเทศรัสเซียทางฝั่งเอเชียเพียงอย่างเดียว คำ ๆ นี้มักไม่ค่อยได้ใช้กันอย่างกว้างขวาง ในบางครั้งเอเชียเหนือจะใช้เรียกส่วนของเอเชียตะวันออก หนังสือ Phillips Illustrated Atlas of the World 1988 แบ่งแยกเอเชียเหนือไว้ว่าเป็นส่วนมากของอดีตสหภาพโซเวียต ในส่วนตะวันออกของเทือกเขายูรัล.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเอเชียเหนือ
เจอร์ซีย์
เจอร์ซีย์ (Jersey) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร เป็นเกาะหนึ่งในหมู่เกาะแชนเนลในช่องแคบอังกฤษ มีเมืองหลวงชื่อ เซนต์เฮลเยอร์ หมวดหมู่:ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:เกาะในทวีปยุโรป จ หมวดหมู่:เจอร์ซีย์.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเจอร์ซีย์
เขาพระวิหาร
ระวิหาร อาจหมายถึง.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเขาพระวิหาร
เขตเศรษฐกิจจำเพาะ
ื้นที่แสดงเขตเศรษฐกิจจำเพาะ เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (exclusive economic zone; EEZ) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล เป็นพื้นที่ทะเลซึ่งรัฐมีสิทธิพิเศษเหนือเขตดังกล่าวในการสำรวจและใช้ทรัพยากรทางทะเล เขตเศรษฐกิจจำเพาะครอบคลุมพื้นที่ถัดจากอาณาเขตบนฝั่งไปสองร้อยไมล์ทะเล ในการใช้คำดังกล่าวบางครั้ง อาจรวมถึงน่านน้ำอาณาเขตและไหล่ทวีปที่เลยเขตจำกัด 200 ไมล์ทะเลไปด้ว.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ
เดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก
อะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก (The World Factbook, ISSN) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า ซีไอเอเวิลด์แฟกต์บุ๊ก (CIA World Factbook) เป็นทรัพยากรอ้างอิงที่สำนักข่าวกรองกลาง (ซีไอเอ) ผลิต โดยมีสารสนเทศแบบกาลานุกรมเกี่ยวกับประเทศของโลก เดอะแฟกต์บุ๊ก เข้าถึงได้ในรูปเว็บไซต์ ซึ่งมีการปรับบางส่วนทุกสัปดาห์ และยังมีให้ดาวน์โหลดเพื่อใช้แบบออฟไลน์ เอกสารดังกล่าวให้ข้อมูลสรุปประมาณสองถึงสามหน้าเกี่ยวกับประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ การสื่อสาร การปกครอง เศรษฐกิจ และการทหารของหน่วยการปกครอง 267 แห่ง (entity) ซึ่งได้แก่ประเทศ เขตสังกัด และพื้นที่อื่นในโลกที่สหรัฐรับรอง สำนักข่าวกรองกลางจัดทำ เดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อข้าราชการสหรัฐ วัจนลีลา การจัดรูปแบบ ขอบเขต และเนื้อหาได้รับการออกแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของพวกเขาเป็นหลัก อย่างไรก็ดี เอกสารวิจัยวิชาการและบทความข่าวมักใช้เป็นทรัพยากร แม้จะมีคุณภาพสารสนเทศกำกวมก็ตาม เนื่องจากเป็นงานของรัฐบาลสหรัฐ จึงถือเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก
เซนต์เฮเลนา
ซนต์เฮเลนา เป็นเกาะภูเขาไฟและอยู่ในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักร อยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติก เกาะใกล้เคียงก็อยู่ในเครือจักรภพเช่นกัน ทั้งเกาะแอสเซนซันและตริสตัน ดา กุนญา เซนต์เฮเลนาเป็นที่รู้จักเมื่อครั้งที่จักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ตแห่งฝรั่งเศส ถูกเนรเทศไปที่เกาะนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและเซนต์เฮเลนา
ISO 3166-1
ISO 3166-1 เป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 3166 ซึ่งกำหนดรหัสประเทศและดินแดนต่างๆ มี 3 มาตรฐานย่อย ได้แก.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและISO 3166-1
26 พฤศจิกายน
วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.
ดู รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดและ26 พฤศจิกายน
ดูเพิ่มเติม
การจัดอันดับระหว่างประเทศ
- ดัชนีการก่อการร้ายทั่วโลก
- ดัชนีการพัฒนามนุษย์
- ดัชนีประชาธิปไตย
- ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน
- ดัชนีสันติภาพโลก
- รายชื่อประเทศตามดัชนีรัฐบอบบาง
- รายชื่อประเทศตามเสรีภาพทางเศรษฐกิจ
- รายชื่อประเทศที่ได้รับการช่วยเหลือจากต่างประเทศ
- รายชื่อประเทศเรียงตามการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
- รายชื่อประเทศเรียงตามเตียงสําหรับผู้ป่วย
- รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
น้ำแบ่งตามประเทศ
- รายชื่อประเทศเรียงตามการใช้น้ำ
- รายชื่อประเทศเรียงตามพื้นที่ชลประทาน
- รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
รายชื่อเกี่ยวกับภูมิศาสตร์
- รายชื่อประเทศเรียงตามการใช้น้ำ
- รายชื่อประเทศเรียงตามพื้นที่ชลประทาน
- รายชื่อประเทศเรียงตามพื้นที่ป่าไม้
- รายชื่อประเทศเรียงตามอัตราการเป็นเจ้าของบ้าน
- รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อประเทศเรียงตามเนื้อที่