โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19

ดัชนี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 ประจำปี..

68 ความสัมพันธ์: ชาคริต แย้มนามชุติมา ทีปะนาถพาราด็อกซ์พิษณุ นิ่มสกุลกรุงเทพมหานครก้องเกียรติ โขมศิริก้านกล้วย 2มาช่า วัฒนพานิชยงยุทธ ทองกองทุนรัชวิน วงศ์วิริยะรักที่รอคอยรายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยมรถไฟฟ้า มาหานะเธอวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยงวนิดา เติมธนาภรณ์ศันสนีย์ วัฒนานุกูลศาลาเฉลิมกรุงสมเกียรติ วิทุรานิชสามชุก (ภาพยนตร์)สาระแน ห้าวเป้ง!!สุเชาว์ พงษ์วิไลหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคลหัวลำโพงริดดิมหนีตามกาลิเลโอห้าแพร่งอรรถพร ธีมากรอรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์อารักษ์ อมรศุภศิริอิ๋ง กาญจนะวณิชย์จรินทร์พร จุนเกียรติจิรายุ ละอองมณีจีเอ็มเอ็ม ไท หับธงไชย แมคอินไตย์ธนิตย์ จิตนุกูลณ ขณะรักคริส หอวังความสุขของกะทิ...ความจำสั้น แต่รักฉันยาวประเทศไทยปรเมศร์ น้อยอ่ำนพชัย ชัยนามนภ พรชำนินางไม้ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2552)แหยม ยโสธร 2ใหม่ เจริญปุระไฟว์สตาร์โปรดักชั่นไกวัล กุลวัฒโนทัยเชือดก่อนชิมเกชา เปลี่ยนวิถีเรย์ แมคโดนัลด์เจสสิกา ภาสะพันธุ์เดือนเต็ม สาลิตุลเฉือนเป็นเอก รัตนเรือง2022 สึนามิ วันโลกสังหาร ขยายดัชนี (18 มากกว่า) »

ชาคริต แย้มนาม

ริต แย้มนาม (เกิด 25 มิถุนายน พ.ศ. 2521) ชื่อเล่น คริต เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากซิดคอมเรื่อง เป็นต่อ ชาคริต แย้มนาม เคยร่วมเล่นให้กับทีมยุวชนสมาคมธำรงไทยสโมสร ในชุดรองแชมป์โลก 11 ปี ฟุตบอล GOTOOEA CUP ที่สวีเดน (มีเพื่อนร่วมสโมสร เช่น เรย์ แมคโดนัลด์ อนุรักษ์ ศรีเกิด).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และชาคริต แย้มนาม · ดูเพิ่มเติม »

ชุติมา ทีปะนาถ

ติมา ทีปะนาถ (ชื่อเล่น:ต่าย) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงจากผลงานภาพยนตร์เรื่อง Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และชุติมา ทีปะนาถ · ดูเพิ่มเติม »

พาราด็อกซ์

leftพาราด็อกซ์ (Paradox) เป็นวงดนตรีชาวไทย เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2537 โดยกลุ่มนิสิตจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวงที่มีเอกลักษณ์ทางการแสดงสด โดยจะมีการแสดงประกอบการเล่นดนตรี เช่น พ่นไฟ, สาดน้ำ, โยนลูกโป่งใส่คนดู ซึ่งแสดงโดยฝ่ายในวงที่เรียกว่า "โจ๊กเกอร์-ว้ากเกอร์" รับเชิญหลายคน โดยโจ๊กเกอร์-ว้ากเกอร์หลักของทางวงคือ อ๊อฟและเก่ง จะทำหน้าที่ร้องประสานเสียงบนเวทีให้อีกด้ว.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และพาราด็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิษณุ นิ่มสกุล

ษณุ นิ่มสกุล (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2521) ชื่อเล่น บอย เป็นนักร้อง นักแสดง และพิธีกรชาวไทย มีชื่อเสียงจากรายการเรียลลิตีโชว์ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2 โดยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 โดยมีผลงานเพลงที่สร้างชื่อคือเพลง "อยากบอกเธอเหลือเกิน" ด้านการแสดง เขาได้รับรางวัลจากการแสดงรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ, รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง และรางวัลแฮมเบอร์เกอร์อวอร์ดในสาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง รักที่รอคอ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และพิษณุ นิ่มสกุล · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ก้องเกียรติ โขมศิริ

ก้องเกียรติ โขมศิริ (ชื่อเล่น: โขม) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และก้องเกียรติ โขมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ก้านกล้วย 2

ก้านกล้วย 2 เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติภาคต่อของไทย กำกับภาพยนตร์โดยทวีลาภ ศรีวุฒิวงศ์ และอำนวยการสร้างโดยบริษัทกันตนา แอนิเมชั่น ก้านกล้วย 2 เป็นภาพยนตร์แอนิเมชั่นภาคต่อของก้านกล้วย เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเจ้าพระยาปราบหงสาวดี ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ต้องปกป้องครอบครัวและบ้านเมือง ในสมัยสงครามระหว่างกรุงศรีอยุธยากับกรุงหงสาวดี ภาพยนตร์ดังกล่าวทำรายได้ 79 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และก้านกล้วย 2 · ดูเพิ่มเติม »

มาช่า วัฒนพานิช

มาช่า วัฒนพานิช (24 สิงหาคม พ.ศ. 2513) มีชื่อจริงแต่เดิมว่า มาร์ชา วัฒนพานิช Marion Ursula Marsha Vadhanapanich; ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สยมพร, ธนัฏฐาไทยรั.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และมาช่า วัฒนพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ทองกองทุน

งยุทธ ทองกองทุน เกิด 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และยงยุทธ ทองกองทุน · ดูเพิ่มเติม »

รัชวิน วงศ์วิริยะ

รัชวิน วงศ์วิริยะ เกิดวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2527 เป็นนักแสดง ดีเจชาวไทย จบการศึกษาระดับอนุบาล-มัธยมศึกษาจาก โรงเรียนราชินีบน ระดับอุดมศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานการแสดงภาพยนตร์สร้างชื่อเรื่อง รัก/สาม/เศร้า และยังแสดงละครโทรทัศน์ เรื่อง บ้านนี้มีรัก และ ดิน น้ำ ลม ไฟ ทางด้านผลงานโฆษณา เช่น โฆษณาออเร้นจ์, red bull extra, u - star, TOT, Scott, ทวิสตี้ และยังแสดงในมิวสิกวิดีโออีกหลายตัว นอกจากนี้เคยออกผลงานอัลบั้ม School Of Lucks เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ ในสาขาผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง รัก/สาม/เศร้า ชีวิตส่วนตัว รัชวิน คบหากับ อาทิวราห์ คงมาลั.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรัชวิน วงศ์วิริยะ · ดูเพิ่มเติม »

รักที่รอคอย

รักที่รอคอย หรือ October Sonata เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรักที่รอคอย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี รายละเอียดในแต่ละรายการประกอบด้วย.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อบทภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม (ช่างกล้อง) การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม (ตัดต่อ) การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม / รางวัลเพลงนำภาพยนตร์ การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับภาพยนตร์ที่มีการออกแบบเสียงหรือตัดต่อเสียงได้ดีเยี่ยม รางวัลนี้มักจะมอบให้กับ Supervising Sound Editor หรือ Sound Designer ของภาพยนตร์เรื่องนั้น ในปีหนึ่งๆ หากไม่มีภาพยนตร์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง การมอบรางวัลจะมอบเป็น Special Achievement Award นับตั้งแต่อดีต รางวัลนี้ได้มีการเปลี่ยนชื่อดังนี้.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้า มาหานะเธอ

รถไฟฟ้า มาหานะเธอ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-คอมเมดี้ ออกฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดยอดิสรณ์ ตรีสิริเกษม กำกับภาพโดยจิระ มะลิกุล ได้รับการจำแนกให้อยู่ในประเภท "ท" (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้ดูทั่วไป) นำแสดงโดยธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ คริส หอวัง และอังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธา ภาพยนตร์นำเสนอในมุมมองของ "เหมยลี่" พนักงานบริษัทสาวโสดวัย 30 ปี ที่พบรักกับวิศวกรรถไฟฟ้าของรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานที่ถ่ายทำส่วนใหญ่ถ่ายทำในรถไฟฟ้า สถานีรถไฟฟ้า บริษัทรถไฟฟ้าบีทีเอส รวมถึงสถานที่อื่นในกรุงเทพมหานครอย่างถนนจันทน์ สองฝั่งคลองริมแม่น้ำเจ้าพระยา พระที่นั่งอนันตสมาคม เยาวราช ท้องฟ้าจำลอง เป็นต้น ภาพยนตร์ได้รับการตอบรับอย่างดี เปิดตัวรายได้ในวันแรกที่ 15.1 ล้านบาท ทำลายสถิติรายได้วันเปิดตัวในปีนี้ของภาพยนตร์ ห้าแพร่ง ที่ 14.9 ล้านบาท ติดอันดับ 1 ยาวนาน 4 สัปดาห์ ทำรายได้รวม 145.82 ล้านบาท นอกจากนั้นภายหลังภาพยนตร์ฉายยังมีออกในรูปแบบการ์ตูน ส่วนด้านรางวัลที่ภาพยนตร์เรื่อง รถไฟฟ้า มาหานะเธอ ได้รับ คือสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จาก 2 สถาบันคือรางวัลขวัญใจสื่อมวลชนและท็อปอวอร์ด 2009 รวมถึงยังได้รับรางวัล ภาพยนตร์ยอดนิยมจากสตาร์พิกส์อวอร์ด ส่วนในด้านรางวัลการแสดง คริส หอวัง ได้รับรางวัลประเภทนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมจากหลายสถาบัน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรถไฟฟ้า มาหานะเธอ · ดูเพิ่มเติม »

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ ถือเป็นคลื่นลูกใหม่รุ่นเดียวกับ เป็นเอก รัตนเรือง, นนทรีย์ นิมิบุตร, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และ จิระ มะลิกุล สไตล์การกำกับภาพยนตร์ของวิศิษฎ์จะเป็นแนวจินตนาการเหนือจริงและใช้สีสันฉูดฉาด และในหลายฉากที่เขากำกับมักจะยกย่องความคลาสสิกของหนังไทยในยุคเก่าอยู่เสมอๆ อย่างเช่นในเรื่อง ฟ้าทะลายโจร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา เติมธนาภรณ์

วนิดา เติมธนาภรณ์ (ชื่อเล่น กิ๊บซี่; เกิด 10 กันยายน พ.ศ. 2526) เป็นนักแสดง และนักร้องชาวไทย อีกทั้งเป็นหนึ่งในสมาชิก เกิร์ลลี่ เบอร์รี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และวนิดา เติมธนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศันสนีย์ วัฒนานุกูล

ันสนีย์ วัฒนานุกูล (สกุลเดิม: สมานวรวงศ์) เกิดวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 หรือชื่อเล่นว่า "นิด" เป็น นักพากย์ การ์ตูนชาวไทย อดีตนางเอกละคร เคยได้รับฉายา "นางเอกเขี้ยวเสน่ห์" โดยเริ่มงานพากย์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 เป็นต้นมา มักจะได้รับบทเป็นพระเอกตอนเด็กหรือนางเอก ผลงานที่มีชื่อเสียงคือพากย์เสียงของ โนบิ โนบิตะ ในการ์ตูน โดราเอมอน ตลอด 32 ปี ปัจจุบัน พากย์เสียงให้แก่บริษัทการ์ตูนหลายแห่ง เช่น ช่อง 9 อ.ส.ม.ท., เด็กซ์ และ อามีโก้.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และศันสนีย์ วัฒนานุกูล · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ วิทุรานิช

มเกียรติ วิทุรานิช (Somkait Vituranich) เป็นนักเขียนบทภาพยนตร์ และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และสมเกียรติ วิทุรานิช · ดูเพิ่มเติม »

สามชุก (ภาพยนตร์)

มชุก เป็นภาพยนตร์ไทยกำกับโดย ธนิตย์ จิตนุกูล นำแสดงโดย ปรเมศร์ น้อยอ่ำ, วิมลเรขา ศิริชัยราวรรณ ออกฉายเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2552 มีเนื้อหาเกี่ยวกับปัญหายาเสพติดที่เข้าถึงภายในชุมชน ที่มีผลกระทบต่อเยาวชนชุมชน โดยสร้างมาจากเหตุการณ์จริงที่เกิด ในโรงเรียน สามชุกรัตนโภคาราม อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และสามชุก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สาระแน ห้าวเป้ง!!

ระแน ห้าวเป้ง!! เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของ ลักษ์ฟิล์ม และร่วมมือกับ สหมงคลฟิล์ม โดยเป็นการนำรายการ สาระแน มาทำรูปแบบในโรงภาพยนตร์ หลังจากออกอากาศโทรทัศน์ยาวนานถึง 11 ปี ภาพยนตร์ทำรายได้ 91.94 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และสาระแน ห้าวเป้ง!! · ดูเพิ่มเติม »

สุเชาว์ พงษ์วิไล

ว์ พงษ์วิไล เป็นนักแสดงชายเจ้าบทบาท เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดลพบุรี สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยวิชาการก่อสร้าง (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในปัจจุบัน) เริ่มอาชีพนักแสดงด้วยการเป็นนักแสดงละครเวทีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่ออายุได้ 30 กว่าแล้ว โดยการรับบทเป็นพระเอก ต่อมาละครเวทีเรื่องนี้ได้มีโอกาสแพร่ภาพออกโทรทัศน์ทางช่อง 5 จึงมีผู้เห็นแววและชักชวนเข้าสู่การแสดงภาพยนตร์ โดยภาพยนตร์เรื่องแรกที่แสดงคือ กิเลสคน ในปี พ.ศ. 2520 ต่อมาก็คือ สวัสดีคุณครู พ.ศ. 2521 และเทพธิดาบาร.ศ 2521 เป็นเรื่องที่สาม รับบทร้ายครั้งแรกในละครของช่อง 3 เรื่อง ขุนศึก โดยการแนะนำและกำกับโดย สักกะ จารุจินดา รวมทั้งเคยรับตลกเป็นกะเทยด้วยในเรื่อง ขบวนการคนใช้ เมื่อปี พ.ศ. 2529 จากการกำกับของ ชนะ คราประยูร สุเชาว์ พงษ์วิไล มีบทบาทที่เป็นที่รู้จักกันดีในบทของดาวร้ายในละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่อง ระยะหลังมีการเปลี่ยนมารับบทพ่อหรือตัวละครอาวุโสขึ้นมาบ้าง ผลงานในระยะหลัง ได้แก่ สุริโยไท (พ.ศ. 2544), ผีสามบาท (พ.ศ. 2544), องค์บาก (พ.ศ. 2546), สุดสาคร (พ.ศ. 2549), A Moment in June ณ ขณะรัก (พ.ศ. 2552) และ 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร ในปีเดียวกัน เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังร่วมแสดงในมิวสิกวิดีโอของธนพล อินทฤทธิ์ ในเพลง 18 ฝน ด้วยการรับบทเป็นพ่อของ สิทธิพร นิยม ในปี พ.ศ. 2537 และในเพลง รอยกรีดที่ข้อมือ ของภานุพงศ์ จำปาเฟื่อง ในปี พ.ศ. 2547 ซึ่งสร้างมาจากชีวิตจริงของลูกสาวตนเองอีกด้วย และในเพลง อกหัก รุ่นเก๋า ของวรนุช กนกากร ในปี พ.ศ. 2552 ชีวิตส่วนตัว สุเชาว์แต่งงานแล้ว มีบุตรสาว 1 คน ชื่อ ณิฐา พงษ์วิไล.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และสุเชาว์ พงษ์วิไล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 -) นักตัดต่อ / นักลำดับภาพ หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล เป็นพระธิดาคนโตของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล กับหม่อมวิยะดา (บุษปวานิช).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หัวลำโพงริดดิม

หัวลำโพงริดดิม (Hua Lampong Riddim) ค่ายเพลงไทยในแนวดนตรีนอกกระแส ก่อตั้งโดย กอล์ฟ - นครินทร์ ธีระภินันท์ และ วิชญ์ วัฒนศัพท์ สมาชิกจากวงทีโบน ร่วมด้วย ธารินี ทิวารี มีศิลปินในสังกัดที่เป็นที่รู้จัก เช่น ทีโบน ไคโจบราเดอร์ส สกาแล็กซี่ ศรีราชาร็อกเกอร์ นอกจากนั้นยังเป็นค่ายเพลงที่ร่วมทำเพลงประกอบให้หนังไทยมากมาย เช่น พรจากฟ้า คิดถึงวิทยา เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ โอเวอร์ไซส์..ทลายพุง และอื่น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และหัวลำโพงริดดิม · ดูเพิ่มเติม »

หนีตามกาลิเลโอ

หนีตามกาลิเลโอ (Dear Galileo) (เดิมชื่อ กาลิเลโอ เพราะโลกมีแรงดึงดูด) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ไปถ่ายทำไกลถึง 3 ประเทศ 3 เมือง คือ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส และ เวนิส ประเทศอิตาลี ภาพยนตร์ทำรายได้ 30.34 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และหนีตามกาลิเลโอ · ดูเพิ่มเติม »

ห้าแพร่ง

ห้าแพร่ง (Phobia 2) เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ โดยมีโครงเรื่องเกี่ยวกับผีและความกลัวเช่นเดียวกับ สี่แพร่ง แต่จะถ่ายทอดผ่านภาพยนตร์สั้น 5 เรื่อง เข้าฉายเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552 และมีการจัดฉายรอบสื่อมวลชนเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ณ โรงภาพยนตร์เอสเอฟ เวิลด์ ซีเนมา ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ โดยมีการถ่ายทอดสดบรรยากาศงานผ่านเว็บไซต์ทางการของภาพยนตร์ นับเป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่มีการถ่ายทอดสดบรรยากาศการจัดฉายรอบสื่อมวลชนทางอินเทอร์เน็ต เป็นหนังสยองขวัญ ที่ทำสถิติรายได้เปิดตัวสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการหนังไทย ภาพยนตร์เรื่อง ห้าแพร่ง ทำรายได้จากการเข้าฉายในประเทศไทยจำนวน 113.5 ล้านบาท (เฉพาะกรุงเทพฯและปริมณฑล).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และห้าแพร่ง · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพร ธีมากร

อรรถพร ธีมากร (หนุ่ม) เกิดวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี พิธีกร และผู้กำกับละคร บุตรของนายพูลสวัสดิ์ ธีมากร นักแสดงอาวุโส เข้าสู่วงการบันเทิงหลังไปออกรายการ จันทร์กะพริบ กับคุณพ่อ โดยเล่นละครเรื่อง "รุ่นหนึ่งตึกห้าหน้าเดิน" เป็นเรื่องแรก ต่อมามีผลงานแสดงละครและภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง โดยผลงานภาพยนตร์สร้างชื่อ คือ 2499 อันธพาลครองเมือง และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง เดอะ เลตเตอร์ จดหมายรัก ในการประกาศรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2547 มีเพื่อนสนิทในวงการ คือ "กัปตัน" ภูธเนศ หงษ์มานพ และ "ติ๊ก" เจษฎาภรณ์ ผลดี ด้านการศึกษาและชีวิตส่วนตัว จบบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น สมรสกับ อริญรดา ปิติมารัชต์ มีบุตรชาย 2 คน ชื่อ อันดาและอดัม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และอรรถพร ธีมากร · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์

อรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์ เคยใช้ชื่อว่า ณัฏฐนันท์ พูลสวัสดิ์ เป็น นักแสดงชาวไทย สังกัดจีเอ็มเอ็มทีวี เริ่มเป็นที่รู้จักจากการแสดงในละครพื้นบ้านเรื่อง โกมินทร์ ปัจจุบันอรรถพันธ์มีชื่อเสียงจากการเล่นละครซีรีส์วัยรุ่นหลายเรื่อง จนทำให้เขามีแฟนคลับทั้งชาวไทยและชาวต่างประเท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และอรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อารักษ์ อมรศุภศิริ

อารักษ์ อมรศุภศิริ (เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2527 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นนักแสดง นายแบบ และนักดนตรีชาวไทย มีผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรก กับการเป็นมือกีตาร์วงสะเลอ หลังจากนั้นมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ บอดี้..ศพ#19 ที่สร้างชื่อเสียง ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อิ๋ง กาญจนะวณิชย์

มานรัชฎ์ "อิ๋ง" กาญจนะวณิชย์ ระบบสืบค้นหนังสือ หอสมุดปรีดี พนมยงค์ หรือ อิ๋ง เค (Ing K) เป็นนักเขียน นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ ภาพยนตร์สารคดี และนักวิพากษ์เรื่องสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และอิ๋ง กาญจนะวณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

จรินทร์พร จุนเกียรติ

รินทร์พร จุนเกียรติ (เกิด 29 มกราคม พ.ศ. 2533) ชื่อเล่น เต้ย เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และจรินทร์พร จุนเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ ละอองมณี

รายุ ละอองมณี (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2538) ชื่อเล่น เก้า เป็นนักแสดงและนักร้องชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และจิรายุ ละอองมณี · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม ไท หับ

ีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีทีเอช เป็นอดีตบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีทีเอชเกิดขึ้นหลังจากจีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์, ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ ร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน เมื่อปี พ.ศ. 2546 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง จึงรวมตัวเป็นบริษัทเดียวกัน ต่อมา ภาพยนตร์ของจีทีเอชได้รับความนิยมชมชอบและทำรายได้ดีแทบทุกเรื่อง เช่น ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ, ห้าแพร่ง, รถไฟฟ้า มาหานะเธอ, กวน มึน โฮ, ลัดดาแลนด์, ATM เออรัก เออเร่อ, พี่มากพระโขนง, คิดถึงวิทยา, ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นต้น นอกจากภาพยนตร์แล้ว จีทีเอชยังผลิตละคร ซิตคอม และซีรีส์อีกด้วย อาทิ ซิทคอมตระกูลเนื้อคู่, หมวดโอภาส ยอดมือปราบคดีพิศวง, Hormones วัยว้าวุ่น, เพื่อนเฮี้ยน..โรงเรียนหลอน, น้ำตากามเทพ, มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร อีกทั้งมีผลงานคอนเสิร์ตและละครเวทีอีกด้วย เช่น Feel Good Music & Movie Concert (ฉลอง 3 ปี จีทีเอช), GTH Day: Play It Forward Concert (ฉลอง 7 ปี จีทีเอช), ละครเวที ลำซิ่งซิงเกอร์, STAR THEQUE GTH 11 ปีแสงคอนเสิร์ต.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และจีเอ็มเอ็ม ไท หับ · ดูเพิ่มเติม »

ธงไชย แมคอินไตย์

งไชย แมคอินไตย์ (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย ได้รับขนานนามว่าเป็นซูเปอร์สตาร์เมืองไทย แรกเข้าวงการบันเทิงเป็นนักแสดงสมทบ ต่อมาได้รับบทพระเอก โดยภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาที่สุดเรื่อง ด้วยรักคือรัก ส่วนละครที่สร้างชื่อเสียงที่สุดของเขาคือบท "โกโบริ" ในละครคู่กรรม ด้านวงการเพลงซึ่งเป็นอาชีพหลักเขาเริ่มต้นจากการประกวดร้องเพลงของสยามกลการ และเป็นนักร้องในสังกัดบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) โดยเขามีอัลบั้มเพลงทั้งหมด 17 อัลบั้ม นอกจากผลงานประจำแล้ว เขาได้รับเกียรติให้ขับร้องเพลงเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่สำคัญหลายบทเพลง และในช่วง 25 ปีที่ผ่านมามีคอนเสิร์ตใหญ่ โดยเฉพาะคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 9 และ คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 10 สร้างปรากฏการณ์ยอดผู้ชมสูงสุดในประเทศไทย สำหรับบทบาทอื่น ๆ ของเขาในช่วงแรกของวงการบันเทิงเขาเป็นพิธีกรรายการถ่ายทอดสด 7 สีคอนเสิร์ต นอกจากนั้นเขายังเป็นนักพากย์ และผู้บรรยาย ชีวิตของธงไชยทุ่มเทให้กับการทำงานเป็นหลัก เขามีผู้จัดการ 2 คน ที่ดูแลเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน และมีเจ้าหน้าที่ของบริษัทแกรมมี่ช่วยทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ชีวิตส่วนตัวของเขาเป็นโสดและไม่พยายามออกไปไหน เขามี "ไร่อุดมสุข" ที่จังหวัดเชียงราย ซึ่งตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้านความพอเพียง จากความกตัญญูของเขาภายหลังจากสูญเสียมารดา หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประทานพระเมตตา รับเขาเป็นเสมือนบุตรบุญธรรม ธงไชยเป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในรอบ 30 ปี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย โดยมียอดจำหน่ายอัลบั้มทั้งหมดสูงสุดของประเทศไทย กว่า 25 ล้านชุด ติดระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย และเป็นศิลปินคนแรกของแกรมมี่ที่ทำยอดขายอัลบั้มเกินสองล้านตลับ และมีสตูดิโออัลบั้มเดี่ยวที่ล้านตลับมากที่สุด 7 ชุด โดยเฉพาะอัลบั้มที่ยอดจำหน่ายสูงสุดของเขาคืออัลบั้ม ชุดรับแขก ซึ่งขายได้มากกว่า 5 ล้านชุด จนสื่อบันเทิงต่างประเทศ นำโดยนิตยสาร เอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี ยกให้ธงไชยเป็นศิลปินนักร้องผู้ทรงอิทธิพลที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย และเป็นระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย ธงไชยได้รับรางวัลต่าง ๆ จำนวนมาก รวมทั้งบิลบอร์ดวิวเออส์ชอยส์อะวอดส์ 1997 ณ สหรัฐ เป็นนักร้องจากทวีปเอเชียคนแรกที่ได้รับรางวัลดังกล่าว เขาได้รับฉายา "ดาวค้างกรุ" ในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนิตย์ จิตนุกูล

นิตย์ จิตนุกูล (ชื่อเล่น: ปื๊ด; เกิด 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 ที่จังหวัดสงขลา) ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง นักเขียนบทภาพยนตร์ไทย มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ไทย เรื่อง บางระจัน ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และธนิตย์ จิตนุกูล · ดูเพิ่มเติม »

ณ ขณะรัก

ณ ขณะรัก หรือชื่ออื่นว่า อะโมเมนต์อินจูน (A Moment in June) เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในประเทศไทยเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ผลงานกำกับของ ณัฐพล วงศ์ตรีเนตรกุล นำแสดงโดย ชาคริต แย้มนาม, กฤษดา สุโกศล แคลปป์, เดือนเต็ม สาลิตุล, สินิทธา บุญยศักดิ์, นภัสกร มิตรเอม, สุเชาว์ พงษ์วิไล, มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ และ ฮิโระ ซะโนะ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับเกียรติให้ฉายเปิดเทศกาลและฉายอย่างเป็นทางการครั้งแรกของโลกที่ “เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติปูซาน ครั้งที่ 13” ประเทศเกาหลีใต้ เมื่อเดือนตุลาคม 2551 เนื้อหาของเรื่องเป็นเรื่องราวความรักและความสัมพันธ์ที่เคยพลาดของคน 6 คนที่ผ่านบทเพลงที่ทำให้พวกเขามาพบกัน โดยเป็นเหตุการณ์ 2 ห้วงเวลาในปี 2515 และ 2542 มีเพลงประกอบภาพยนตร์คือ เพลง "ความคิด" เนื้อร้อง-ทำนอง-ขับร้อง อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข ภาพยนตร์ทำรายได้ 5.62 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และณ ขณะรัก · ดูเพิ่มเติม »

คริส หอวัง

ริส หอวัง หรือชื่อจริงว่า ศิริน หอวัง เป็นนักแสดง นักร้อง ครูสอนเต้น นักจัดรายการวิทยุ พิธีกร และนางแบบชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และคริส หอวัง · ดูเพิ่มเติม »

ความสุขของกะทิ

หน้าปกหนังสือเรื่อง ''ความสุขของกะทิ'' ความสุขของกะทิ ฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์ในสหรัฐอเมริกา ความสุขของกะทิ เป็นนวนิยายขนาดสั้น ของ งามพรรณ เวชชาชีวะ ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์) ของประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2549 และได้ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2552 ในชื่อเดียวกันคือ ความสุขของกะทิ หนังสือภาคต่อของ ความสุขของกะทิ ชื่อว่า ความสุขของกะทิ ตอน ตามหาพระจันทร์ และ ความสุขของกะทิ ตอน ในโลกใบเล็ก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และความสุขของกะทิ · ดูเพิ่มเติม »

ความจำสั้น แต่รักฉันยาว

วามจำสั้น แต่รักฉันยาว (Best of Times) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากภาพยนตร์สั้นเรื่อง เวลา…รัก โดย ขนิษฐา ขวัญอยู่ ภาพยนตร์ทำรายได้ 49.1 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และความจำสั้น แต่รักฉันยาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปรเมศร์ น้อยอ่ำ

ปรเมศร์ น้อยอ่ำ เป็นนักแสดง และนักโฆษณาชาวไทย มีผลงานการแสดงเป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์เรื่อง บอดี้ ศพ19 ซึ่งจากเรื่องนี้ทำให้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง สาขานักแสดงสมทบยอดเยี่ยม หลังจากนั้นในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และปรเมศร์ น้อยอ่ำ · ดูเพิ่มเติม »

นพชัย ชัยนาม

นพชัย ชัยนาม (ชื่อเล่น: ปีเตอร์) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-เยอรมัน มีบทบาทการแสดงเป็นที่จดจำจากเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รับบทเป็น "บุญทิ้ง" หรือ "ออกพระราชมนู" นพชัยสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นพชัยเริ่มเข้าสู่วงการ โดยการถ่ายภาพยนตร์โฆษณา สเปรย์รอยัล จากนั้นมีผลงานแสดงละคร เช่น เจ้าสาวของอานนท์ สะพานดาว เลือกแล้วคือเธอ ฯ จากนั้นได้แสดงภาพยนตร์เรื่องแรกในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และนพชัย ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

นภ พรชำนิ

นภ พรชำนิ (เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2515 ที่เขตราชเทวี กรุงเทพฯ) เป็นนักร้องชาวไทย เข้ารับการศึกษาในระดับประถมและมัธยมต้นที่โรงเรียนเซนต์คาเบรียล ระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พญาไท ศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศึกษาต่อต่างประเทศในสาขา Business Administration ที่ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เริ่มเป็นศิลปินนักร้องรับเชิญ ในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และนภ พรชำนิ · ดูเพิ่มเติม »

นางไม้ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2552)

นางไม้ เป็นภาพยนตร์ไทยผลงานร่วมทุนระหว่าง ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น และ ฟอร์ทิสซิโม่ ฟิล์ม ออกฉายวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดยเป็นเอก รัตนเรือง นำแสดงโดยวนิดา เติมธนาภรณ์, นพชัย ชัยนาม, ชมะนันท์ วรรณวินเวศร์ ภาพยนตร์ได้รับการคัดเลือกให้เข้าฉายในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ปี 2552 ในสาขา UnCertain Regard หรือ หนังที่น่าจับตามอง ภาพยนตร์ได้รับรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยมและสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และนางไม้ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2552) · ดูเพิ่มเติม »

แหยม ยโสธร 2

แหยม ยโสธร 2 เป็น ภาพยนตร์ไทยแนวตลกสนุกสนาน เป็นภาคต่อของ แหยมยโสธร เนื้อเรื่องเป็นอีก 20 ปีหลัง ต่อจากภาคที่แล้ว ออกฉายเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552 กำกับและนำแสดงโดย เพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา และร่วมแสดงโดย เจเน็ต เขียว,หรินทร์ สุธรรมจรัส,บุษราคัม วงษ์คำเหลา,เพทาย วงษ์คำเหลา และอนุวัฒน์ ทาระพันธ์ ภาพยนตร์เปิดตัวรายได้ในสัปดาห์แรกที่ 38.5 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และแหยม ยโสธร 2 · ดูเพิ่มเติม »

ใหม่ เจริญปุระ

ใหม่ เจริญปุระ (เกิด 5 มกราคม พ.ศ. 2512) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทยระดับซุปเปอร์สตาร์หญิงแถวหน้าของเมืองไทย มีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรกคือ ขอแค่คิดถึง ในปี พ.ศ. 2527 โดยใช้ชื่อว่า "ใหม่ สิริวิมล" และประเดิมละครเรื่องแรก คนเริงเมือง พ.ศ. 2531 ให้กับไทยทีวีสีช่อง 3 อัลบั้มชุดแรก ไม้ม้วน ในปี พ.ศ. 2532 ประสบความสำเร็จจนได้รับรางวัลนักร้องหน้าใหม่จากเวทีสีสันอะวอดส์ และในปี พ.ศ. 2535 อัลบั้ม ความลับสุดขอบฟ้า สามารถทำสถิติ นักร้องหญิงของแกรมมี่คนแรกที่สร้างยอดขายเทปทะลุ 2 ล้านตลับ เธอยังสามารถคว้ารางวัลจากสีสันอะวอดส์อีกครั้งในฐานะศิลปินหญิงยอดเยี่ยมจากอัลบั้ม "แผลงฤทธิ์" ในปี พ.ศ. 2541 และใหม่ยังได้รับฉายา Queen of poprock ยุค 90 อีกด้ว.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และใหม่ เจริญปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น

ฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เป็นบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ของไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 โดย เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร เดิมชื่อว่า บริษัทนิวไฟว์สตาร์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เมื่อประมาณ พ.ศ. 2523 โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้ดำเนินการผลิตภาพยนตร์คุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อความบันเทิงทั้งในและต่างประเทศตลอดระยะเวลา 40 ปี ภาพยนตร์ของ ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้รับความนิยมชมชอบแทบทุกเรื่องในสมัยก่อนจนถึงปัจจุบัน เช่น ขุนศึก, ลูกอีสาน, ผู้ใหญ่ลีกับนางมา, บุญชู, น้ำพุ, วัยระเริง, อนึ่งคิดถึงพอสังเขป, กลิ่นสีและกาวแป้ง, กว่าจะรู้เดียงสา, ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44, คู่กรรม, อำแดงเหมือนกับนายริด, หวานมันส์ ฉันคือเธอ, ด้วยเกล้า, หลังคาแดง, ฟ้าทะลายโจร, มนต์รักทรานซิสเตอร์ เป็นต้น หลังจาก เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร ถูกโส ธนวิสุทธิ์ ลอบยิงเสียชีวิต เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และไฟว์สตาร์โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ไกวัล กุลวัฒโนทัย

Kaiwan Kulavadhanothai กนกมัน พงสกุล ไกวัล กุลวัฒโนทัย เริ่มศึกษาวิชาดนตรีเมื่ออายุ 10 ปี ที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร กับอาจารย์ Motoko Funakoshi ในวิชาเอกขับร้อง ในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และไกวัล กุลวัฒโนทัย · ดูเพิ่มเติม »

เชือดก่อนชิม

ือดก่อนชิม เป็นภาพยนตร์ไทยแนวลึกลับสยองขวัญของค่ายพระนครฟิลม์ ออกฉายในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2552 ผลงานการกำกับของทิวา เมยไธสง โดยมีพจน์ อานนท์เป็นผู้อำนวยการสร้าง นำแสดงโดย ใหม่ เจริญปุระ,รัตนบัลลังก์ โตสวัสดิ์,ปิยวัฒน์ นิวาตวงศ์,พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์,จิรัชญา จิรรัชชกิจ มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับบุษ (ใหม่ เจริญปุระ) เจ้าของร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อสูตรโบราณที่ธุรกิจร้านกำลังแย่นอกจากนั้นยังต้องจ่ายหนี้ที่สามีก่อไว้ แต่วันหนึ่งเธอได้นำเอาเนื้อคนมาทำก๋วยเตี๋ยวและทำให้ธุรกิจร้านไปได้สวย นอกจากนั้นเธอยังได้พบกับอรรถพลนักศึกษามหาลัยที่คอยเอาใจใส่เธอ แต่กลับเกิดเรื่องกับน้องบัวน้องสาวต่างวัยของเธอที่ถูกประวิทย์และอ้อยฆ่าและอรรถพลที่หันไปคบกับนิดา เรื่องเหล่านี้ทำให้บุษเคียดแค้นใจและพร้อมที่จะล้างแค้นทุกคนที่ขวางทางเธอ ภาพยนตร์ได้สื่อถึงความรุนแรงในสังคมไทยปัจจุบันที่กระทำต่อเด็กและสตรีและความไม่เท่าเทียมทางเพศ เดิมทีภาพยนตร์ใช้ชื่อเดิมว่า ก๋วยเตี๋ยวเนื้อคน แต่ภายหลังได้เปลี่ยนเป็นเชือดก่อนชิม ภาพยนตร์ทำรายได้ 13.55 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเชือดก่อนชิม · ดูเพิ่มเติม »

เกชา เปลี่ยนวิถี

กชา เปลี่ยนวิถี นักแสดงอาวุโส มีชื่อเสียงเป็นที่จดจำจากบทเจ้าพ่อ จากภาพยนตร์เรื่อง เพชรตัดเพชร และรับบทผู้ร้ายมาตลอดชีวิตการแสดง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเกชา เปลี่ยนวิถี · ดูเพิ่มเติม »

เรย์ แมคโดนัลด์

ร แม็คโดแนลด์ เกิดวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 เป็นนักแสดงลูกครึ่ง ไทย - สกอตแลนด์ (ยูเรเชียน) เคยได้รับ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ดีเยี่ยมในปี..1997-1998 ด้วยบทในภาพยนตร์เรื่อง ฝันบ้าคาราโอเกะ และยังได้รับรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 ในสาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง หนีตามกาลิเลโอ เร แม็คโดแนลด์ เคยร่วมเล่นให้กับทีมยุวชนสมาคมธำรงไทยสโมสรและเป็นกัปตันทีม ในชุดรองแชมป์โลก 11 ปี ฟุตบอล GOTOOEA CUP ที่สวีเดน (มีเพื่อนร่วมสโมสร เช่น ชาคริต แย้มนาม อนุรักษ์ ศรีเกิด) เร แม็คโดแนลด์จบมัธยมที่ประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเรย์ แมคโดนัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจสสิกา ภาสะพันธุ์

กา ภาสะพันธุ์ (เกิด 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเจสสิกา ภาสะพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเต็ม สาลิตุล

ือนเต็ม สาลิตุล หรือ 'ตุ๊ก' นักแสดงหญิงเจ้าบทบาท ที่มีผลงานทั้งทางละครทีวีและภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2500 เมื่อแรกเข้าวงการใช้ชื่อในการแสดงว่า เดือนเต็ม เผ่าทองสุข เข้าสู่วงการครั้งแรก จากการชักชวนของ อารีย์ นักดนตรี เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเดือนเต็ม สาลิตุล · ดูเพิ่มเติม »

เฉือน

ฉือน (Slice) เป็นภาพยนตร์แนวสืบสวนสอบสวน ก้องเกียรติ โขมศิริ กำกับ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เขียนบท อารักษ์ อมรศุภศิริ กับฉัตรชัย เปล่งพานิช นำแสดง เริ่มฉายในโรงภาพยนตร์ ณ วันที่ 22 ตุลาคม 2552 และมีรายได้ทั้งสิ้น 6.3 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเฉือน · ดูเพิ่มเติม »

เป็นเอก รัตนเรือง

ป็นเอก รัตนเรือง (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2505 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นผู้กำกับและนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย เติบโตมาจากวงการกำกับภาพยนตร์โฆษณา เป็นเอกเป็นที่รู้จักมากที่สุดจากภาพยนตร์ เรื่องรัก น้อยนิด มหาศาล และจัดว่าเป็นหนึ่งในคนทำหนังคลื่นลูกใหม่ ร่วมกับ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง และ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล โดยในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเป็นเอก รัตนเรือง · ดูเพิ่มเติม »

2022 สึนามิ วันโลกสังหาร

2022 สึนามิ วันโลกสังหาร (13-04-2022 Tsunami) เป็นภาพยนตร์ไทยที่เข้าฉายในวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 นำแสดงโดย พิศาล ศรีมั่นคง, สิรินดา เจนเซ่น, ภาณุเดช วัฒนสุชาติ, สุเชาว์ พงษ์วิไล, ชุมพร เทพพิทักษ์, ชลิต เฟื่องอารมย์, นิชาภา ประกรณ์กิจวัฒนา, ปริญญา วงษ์ศิลป์ อำนวยการสร้าง, บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย ทรนง ศรีเชื้อ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และ2022 สึนามิ วันโลกสังหาร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 ประจำปี พ.ศ. 2552

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »