โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

ดัชนี รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม / รางวัลเพลงนำภาพยนตร์ การประกวดภาพยนตร์ไท.

85 ความสัมพันธ์: บัตเตอร์ฟลายชาลี อินทรวิจิตรบิลลี่ โอแกนบุญชู 2 น้องใหม่ฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์)พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขากอด (ภาพยนตร์)มัม ลาโคนิคส์ยืนยง โอภากุลรัก-ออกแบบไม่ได้รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507...รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยงสมาน กาญจนะผลินสราวุธ เลิศปัญญานุชสิ้นรักสิ้นสุขสุรชัย จันทิมาธรสุทธิพงษ์ วัฒนจังสตรีเหล็กหยาดเพชรหนู มิเตอร์อรรถพล ประเสริฐยิ่งอนึ่ง คิดถึงพอสังเขปจรัล มโนเพ็ชรจำรัส เศวตาภรณ์ธนา สุทธิกมลข้างหลังภาพด้วยเกล้าความจำสั้น แต่รักฉันยาวคาราวาน (วงดนตรี)คู่กรรมคงเดช จาตุรันต์รัศมีประสิทธิ์ พยอมยงค์ปราจีน ทรงเผ่าปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัลโหมโรง (ภาพยนตร์)โคตรรักเอ็งเลยเกริกพล มัสยวาณิชเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์เรวัต พุทธินันทน์เสียดายเอ๋อเหรอเดอะเลตเตอร์ จดหมายรักเงิน เงิน เงินเปนชู้กับผี ขยายดัชนี (35 มากกว่า) »

บัตเตอร์ฟลาย

ัตเตอร์ฟลาย (Butterfly) ในภาษาไทยหมายถึง "ผีเสื้อ" และอาจสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบัตเตอร์ฟลาย · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี อินทรวิจิตร

ลี อินทรวิจิตร เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์คำร้อง-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปีพุทธศักราช 2536 มีผลงานประพันธ์คำร้องเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ สดุดีมหาราชา, แสนแสบ, ท่าฉลอม, สาวนครชัยศรี, ทุ่งรวงทอง, มนต์รักดอกคำใต้, แม่กลอง, เรือนแพ, จำเลยรัก ฯลฯ เดิมชื่อ สง่า อินทรวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและชาลี อินทรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

บิลลี่ โอแกน

ลลี่ โอแกน มีชื่อจริงว่า บิณฑ์ลี่ฎ์ มิตตกริน โอแกน เป็นนักร้อง นักแสดง นักแต่งเพลง นักเขียน พิธีกร ชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบิลลี่ โอแกน · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู 2 น้องใหม่

ญชู 2 น้องใหม่ หรือ บุญชู ภาค 2 เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2532 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล โดยค่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ ส. อาสนจินดา สุเทพ ประยูรพิทักษ์ ญาณี จงวิสุทธิ์ วัชระ ปานเอี่ยม เกียรติ กิจเจริญ อรุณ ภาวิไล กฤษณ์ ศุกระมงคล เกรียงไกร อมาตยกุล นฤพนธ์ ไชยยศ นัย สุขสกุล ธงชัย ประสงค์สันติ พรทิพย์ ประเสริฐยิ่งสุข กัญญาลักษณ์ บำรุงรักษ์ สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์ ศศิวิมล วิริยานนท์ ส.อาสนจินดา จุรี โอศิริ ดร.เสรี วงษ์มณฑา ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้ 16 ล้านบาทในสมัยนั้น.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบุญชู 2 น้องใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์)

ฟ้าทะลายโจร (Tears of the Black Tiger) เป็นผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่องแรกของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา

งษ์ศักดิ์ จันทรุกขา (ชื่อเดิม นายสงคราม) เกิดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา · ดูเพิ่มเติม »

กอด (ภาพยนตร์)

กอด (Handle Me With Care) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกอด (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

มัม ลาโคนิคส์

มัม ลาโคนิคส์ (Mum Laconics) เป็นนักร้องสาวประเภทสอง ที่มีชื่อเสียงจากการร้องเพลงประจำ ตามโรงแรมชั้นหนึ่งในกรุงเทพ มีวงดนตรีแบคอัพชื่อวง "ลาโคนิคส์" มัมมีเอกลักษณ์เฉพาะคือ สวมสูทเรียบร้อย แต่แต่งหน้าเป็นหญิง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและมัม ลาโคนิคส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

รัก-ออกแบบไม่ได้

รัก-ออกแบบไม่ได้ หรือ O-Negative เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรัก-ออกแบบไม่ได้ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549

ีมอบรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ณ โรงภาพยนตร์สยามภาวลัย พารากอนซินีเพล็กซ์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน โดยมี พล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน นับเป็นรางวัลตุ๊กตาทองครั้งที่ 36 นับจากครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2500 และถือเป็นครั้งสุดท้ายของการจัดงานนี้ ภาพยนตร์ที่เข้าประกวดมีทั้งหมด 21 เรื่อง จากภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 จำนวน 42 เรื่อง ภาพยนตร์เรื่อง เปนชู้กับผี เข้าชิงมากที่สุด 13 รางวัล จากทั้งหมด 16 รางวัล ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 ประจำปี พ.ศ. 2548 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 ณ บริเวณอนุสรณ์สถาน เรือตรวจการ 813 บ้านบางเนียง ตำบลคึกคัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา '''ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม''' - ''มหา'ลัยเหมืองแร่'' จิระ มะลิกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับยอดเยี่ยม ฉัตรชัย เปล่งพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม สนธยา ชิตมณี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16

พิธีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ณ สวนรัก อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยมี นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นประธาน ภาพยนตร์ที่เข้าประกวดมีทั้งหมด 41 เรื่อง จากภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ภาพยนตร์เรื่อง 13 เกมสยอง เข้าชิงมากที่สุด 13 รางวัล จากทั้งหมด 16 รางวัล โดยไม่มีภาพยนตร์จาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เข้าประกวด เนื่องจากความขัดแย้งในการประกวดประจำปี 2548 (คือเรื่อง เปนชู้กับผี และ Invisible Waves คำพิพากษาของมหาสมุทร) กฤษดา สุโกศล แคลปป์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รุ้งลาวัณย์ โทนะหงษา ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นิรุตติ์ ศิริจรรยา ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหนา.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี พ.ศ. 2550 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ณ โรงละครสยามนิรมิต กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีภาพยนตร์ส่งเข้าประกวด 43 เรื่อง โดย 2 เรื่องที่ถอนตัวไปร่วมประกวดคือ "ตำนานสมเด็จพระเนรศวร ภาค 1 และ 2" ของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (จากซ้าย) '''สนธยา ชิตมณี''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''ไชยา'' '''เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''รักแห่งสยาม'' '''มาช่า วัฒนพานิช''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''แฝด'' และ '''อัครา อมาตยกุล''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''ไชยา'' ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับยอดเยี่ยม อัครา อมาตยกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมมาช่า วัฒนพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมสนธยา ชิตมณี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2551 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร '''อนันดา เอเวอริ่งแฮม''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''แฮปปี้เบิร์ธเดย์'' และ '''รัชวิน วงศ์วิริยะ''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''รัก/สาม/เศร้า'' อนันดา เอเวอริ่งแฮม ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รัชวิน วงศ์วิริยะ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม สรพงศ์ ชาตรี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม โฟกัส จีระกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500

การประกวดภาพยนตร์ ชิงรางวัลตุ๊กตาทอง และสำเภาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25

หมวดหมู่:กล่องท้ายเรื่อง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานรางวัลให้แก่ผู้ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ ถือเป็นคลื่นลูกใหม่รุ่นเดียวกับ เป็นเอก รัตนเรือง, นนทรีย์ นิมิบุตร, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และ จิระ มะลิกุล สไตล์การกำกับภาพยนตร์ของวิศิษฎ์จะเป็นแนวจินตนาการเหนือจริงและใช้สีสันฉูดฉาด และในหลายฉากที่เขากำกับมักจะยกย่องความคลาสสิกของหนังไทยในยุคเก่าอยู่เสมอๆ อย่างเช่นในเรื่อง ฟ้าทะลายโจร.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง · ดูเพิ่มเติม »

สมาน กาญจนะผลิน

มาน กาญจนะผลิน (10 มีนาคม พ.ศ. 2464 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2538) นักดนตรีและนักแต่งทำนองเพลงลูกกรุง /ไทยสากลเด่นๆ จำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมาน กาญจนะผลิน · ดูเพิ่มเติม »

สราวุธ เลิศปัญญานุช

ราวุธ เลิศปัญญานุช เป็นนักแต่งเพลงชาวไทย มีผลงานแต่งเพลงและเรียบเรียงเสียงประสานเพลงประกอบละคร เพลงประกอบภาพยนตร์ และละครเวที ให้กับค่ายเอ็กแซ็กท์และซีเนริโอ ในสังกัดจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ สราวุธเริ่มหัดเล่นดนตรีตั้งแต่เด็ก โดยเริ่มจากการเล่นเปียโน ต่อมาได้ศึกษาภาควิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเริ่มแต่งเพลงละครโทรทัศน์ให้กับถกลเกียรติ วีรวรรณ จากนั้นได้ศึกษาเพิ่มเติมที่ประเทศอังกฤษ MusicMaker Magazine จากนั้นจึงมาทำงานเพลงละครเวทีให้กับเครือจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ขณะเรียนหนังสือที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สราวุธเคยเป็นผู้อำนวยเพลงของวงดุริยางค์โรงเรียน ขณะเรียนมหาวิทยาลัย เป็นหนึ่งสมาชิกวงดนตรีโมเดิร์นด็อก ในตำแหน่งคีย์บอร์ด ร่วมแข่งขันโค้กมิวสิคอวอร์ด ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสราวุธ เลิศปัญญานุช · ดูเพิ่มเติม »

สิ้นรักสิ้นสุข

right สิ้นรักสิ้นสุข เป็นเพลงของวงสุนทราภรณ์ ซึ่งประพันธ์ทำนองโดย หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ประพันธ์คำร้องโดย แก้ว อัจฉริยะกุล เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสิ้นรักสิ้นสุข · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย จันทิมาธร

รชัย จันทิมาธร หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หงา คาราวาน เป็นนักร้องนำและหนึ่งในผู้ก่อตั้งวงคาราวาน สุรชัยเป็นนักแต่งเพลงชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของวงการเพลงไทย ผู้คนในวงการเพลงเพื่อชีวิตมักเรียกเขาอย่างนับถือว่า น้าหงา หรือ พี่หงา และได้รับการยกย่องให้เป็น อาจารย์ใหญ่แห่งวงการเพลงเพื่อชีวิต.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสุรชัย จันทิมาธร · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิพงษ์ วัฒนจัง

ทธิพงษ์ วัฒนจัง หรือ ชมพู ฟรุตตี้ เกิดวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นมือกีตาร์วงโฟค์ซอง นานา และนักร้องนำของวงฟรุตตี้ วงดนตรีสตริง และเป็นนักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ชื่อดัง ของอาร์เอส มีผลงานควบคุมการผลิต หรือแต่งเพลงให้กับศิลปินในสังกัดมากมายเช่น เกิร์ลลีเบอร์รี, ทู, เดอะเน็กซ์, เรนโบว์, ไอน้ำ, เฟลม, ศิลปินค่ายกามิกาเซ่รุ่นแรก ฯลฯ โดยเฉพาะงานเพลงประกอบละครโทรทัศน์หลายเรื่อง ที่สร้างชื่อเสียงให้กับชมพูเป็นอย่างดีในฐานะนักแต่งเพลง เช่น กนกลายโบตั๋น,คู่กรรม,ดวงตาสวรรค์,หงษ์ทอง,มณีร้าว,สายโลหิต,ญาติกา,รัตนโกสินทร์ ฯลฯ การศึกษา ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ชมพูยังมีผลงานการแสดงละครและภาพยนตร์หลายเรื่อง ส่วนใหญ่ได้รับบทเป็นเพื่อนของพระเอกหรือตัวสร้างสีสันในเรื่อง และยังเป็นกรรมการการตัดสินของ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ตำแหน่งสูงสุดในบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) ของเขา คือ รองกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายผลิตธุรกิจเพลงไทย ทั้งเป็นผู้ก่อตั้งและผู้บริหารค่ายกามิกาเซ่ ต่อมาจึงลาออก โดยดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหารอาวุโสฝ่ายดูแลคอนเทนท์ศิลปิน บริษัทโซนี่ มิวสิก (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ผลิตศิลปินที่มีชื่อเสียงอย่างซิงกูล่า เป็นต้น ปัจจุบันเป็นผู้บริหารที่ บริษัท เจเอสแอล โกลบอล มีเดีย จำกัด ในตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสุทธิพงษ์ วัฒนจัง · ดูเพิ่มเติม »

สตรีเหล็ก

ตรีเหล็ก เป็นภาพยนตร์ไทย ตลก ที่สร้างจากเรื่องจริงของทีมวอลเลย์บอลชาย ที่ผู้เล่นทั้งทีมเป็นกะเทย ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน เขียนบทโดย วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน และจิระ มะลิกุล มี ปนัดดา โพธิวิจิตร และศศิวิมล ชินเวชกิจวานิชย์ เป็นผู้ช่วยผู้กำกับ ออกฉายเมื่อ 3 มีนาคม พ.ศ. 2543 โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้ไป 98.70 ล้านบาท ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จด้านรายได้เป็นอย่างดี และก่อให้เกิดกระแสสร้างภาพยนตร์เกี่ยวกับกีฬา และเกี่ยวกับเพศที่สาม ติดตามมาอีกหลายเรื่อง ภาพยนตร์ได้ออกไปฉายในต่างประเทศ และได้รับคำชื่นชมเป็นอย่างดี ไปฉายในงานเทศกาลภาพยนตร์ที่ Pusan International Film Festival ปูซาน เกาหลีใต้, San Francisco Asian American Film Festival ซานฟรานซิสโก, Miami Gay and Lesbian Film Festival ไมอามี, Los Angeles Asian Pacific Film Festival ลอสแอนเจลิส, Seattle International Film Festival ซีแอตเทิล และ San Francisco International Lesbian and Gay Film Festival.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสตรีเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

หยาดเพชร

หยาดเพชร เป็นเพลงแนวลูกกรุง ขับร้องโดย ชรินทร์ นันทนาคร แต่งคำร้องโดย ชาลี อินทรวิจิตร และทำนองโดย สมาน กาญจนะผลิน เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง เงิน เงิน เงิน (พ.ศ. 2508) ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่นำแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา คู่กับเพชรา เชาวราษฎร์ มีดาราสมทบคือชรินทร์ นันทนาคร และสุมาลี ทองหล่อ เพลงนี้ในภาพยนตร์แสดงความอาลัยที่ต้องจากคู่นางรอง (สุมาลี) ที่มาของเพลงนี้ ชาลี อินทรวิจิตร ผู้แต่งเล่าให้ฟังว่า เพลง "หยาดเพชร" นั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ประทานนามให้ชาลี อินทรวิจิตรและสมาน กาญจนผลินเป็นผู้แต่ง เพลงนี้มีการนำกลับมาขับร้องใหม่หลายครั้ง โดยในครั้งล่าสุดใช้ในเพลงประกอบ ภาพยนตร์โฆษณา ลิปสติก ไดมอนด์ นัมเบอร์ วัน ของมิสทีน ที่เป็นการปรากฏตัวของเพชรา เชาวราษฎร์ ในโฆษณาทางโทรทัศน์ครั้งแรกในรอบ 30 ปี ขับร้องโดยศุกลวัฒน์ คณาร.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหยาดเพชร · ดูเพิ่มเติม »

หนู มิเตอร์

หนู มิเตอร์ มีชื่อจริงว่า สร่างศัลย์ เรืองศรี เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ที่ จังหวัดลพบุรี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ทำงานในวงการเพลง ด้วยการเป็นโปรดิวเซอร์ แต่งเพลง และมือกีตาร์ จนได้รับฉายาว่า กีตาร์มิเตอร์ เนื่องจากโปรดิวเซอร์มักจะตะโกนสั่งว่า "กดมิเตอร์เลยหนู" เนื่องจากในสมัยนั้น กรุงเทพฯเพิ่งจะมีรถแท็กซี่มิเตอร์เป็นครั้งแรก (ปี พ.ศ. 2535) หนู มิเตอร์ทำเพลงหลากหลายแนว ทั้งป็อป, ร็อก และลูกทุ่ง มีผลงานการเป็นโปรดิวเซอร์ ให้กับศิลปินในสังกัดอาร์. เอส. โปรโมชั่น เช่น ปฏิวัติ เรืองศรี ในปี พ.ศ. 2537 หนู มิเตอร์ ได้ออกอัลบั้มของตัวเองเป็นชุดแรก ชื่อ "นิราศป่าปูน" กับค่ายรถไฟดนตรี เป็นเพลงแนวลูกทุ่งเพื่อชีวิต ได้รับความนิยมทันที เพลงที่ได้รับความนิยม เช่น ข้างหลังภาพ เป็นต้น ซึ่งเพลงในอัลบั้มนิราศป่าปูน มีผู้แต่งเนื้อร้อง/ทำนอง เกือบทุกเพลงโดย แพงคำ(ผดุง) ป้องจันลา ยกเว้นเพลง "ขอหมอนใบนั้น ที่เธอฝันยามหนุน" ซึ่งแต่งคำร้อง-ทำนองโดย หนู มิเตอร์ จากนั้นก็ได้ออกตามมาอีกหลายอัลบั้ม เช่น "แด่เธอผู้เป็นแรงใจ", "เพลงรักจากใจ" เป็นต้น มีเพลงที่ได้รับความนิยมเช่น พบรักปากน้ำโพ, หนุ่มบ้านไกล, ดาวในฝัน หนู มิเตอร์ ยังถือว่าเป็นมือกีตาร์รุ่นเดียวกันกับ ณรงค์ เดชะ วงสเตอ อีกด้วย หนู มิเตอร์ ยังได้ร่วมทำงานเพลงกับศิลปินอีกหลายคน หลายวง เช่น ธนพล อินทฤทธิ์ ในปี พ.ศ. 2537 ในชุด "ทีของเสือ", คาราบาว ในปี พ.ศ. 2538 ในชุด "15 ปี คาราบาว หากหัวใจยังรักควาย" ด้วยการเป่าขลุ่ย และเล่นกีตาร์ รวมทั้งเล่นกีตาร์ให้อิทธิ พลางกูร ในปี พ.ศ. 2539 อัลบั้ม "อิทธิ 6 ปกขาว", เทียรี่ เมฆวัฒนา ในปี พ.ศ. 2546 ในชุด "จักรวาล" ในฐานะมือกีตาร์ ปัจจุบัน นอกจากทำงานดนตรีแล้ว ยังเป็นผู้บริหารบริษัท มีดี เร็คคอร์ด ซึ่งมีที่มาจากภาษาอังกฤษว่า มีเดี่ยม (Medium) แปลว่า กลาง ๆ โดยเจ้าตัวอธิบายว่า เป็นบริษัททำเพลงเพื่อชีวิต เป็นเพลงซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างสตริงกับลูกทุ่ง ในสังกัดของ อาร์.เอส.โปรโมชั่น ต้องประชุม พูดคุยกับตัวนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ เพื่อให้ผลงานที่ออกมามีคุณภาพ มีดีสมชื่อ และที่สำคัญ ต้องไม่ให้ซ้ำกับคนอื่น ต้องสร้างเอกลักษณ์ของตัวเอง ดูแลบัญชี ประชาสัมพันธ์ และทำดนตรีด้วยตัวเองทั้งหม.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหนู มิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพล ประเสริฐยิ่ง

อรรถพล ประเสริฐยิ่ง (13 กันยายน พ.ศ. 2502 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558) หรือรู้จักกันในนาม อู๋ แมคอินทอช เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง, โปรดิวเซอร์เพลง นักแสดง และอีกทั้งเป็นที่รู้จักในบทบาทอดีตมือคียบอร์ดและนักร้องนำของวงดนตรี แมคอินทอช ในช่วงทศวรรษ 2520 มีผลงานที่เป็นที่รู้จักเพลง ลมหายใจแห่งความคิดถึง, ช้ำ, ห่างไกล, เพื่อนร่วมทาง, เส้นขนาน, ทำไม, ลองคิดดู ฯลฯ ปัจจุบันเสียชีวิตแล้วเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 จากอาการเส้นเลือดในสมองแตก หลังเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท เมื่อคืนวันที่ 30 กรกฎาคม เนื่องจากมีอาการความดันโลหิตสูง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอรรถพล ประเสริฐยิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอนึ่ง คิดถึงพอสังเขป · ดูเพิ่มเติม »

จรัล มโนเพ็ชร

รัล มโนเพ็ชร (1 มกราคม พ.ศ. 2494 — 3 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นศิลปินชาวไทย ผู้เป็นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และนักแสดง ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นศิลปินผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคสมัย งานดนตรีของจรัลมีเอกลักษณ์จากการสร้างสรรค์ภาษาถิ่นเหนือ คำเมือง ของเขาซึ่งเรียกว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ก่อเกิดขึ้นนับแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจรัล มโนเพ็ชร · ดูเพิ่มเติม »

จำรัส เศวตาภรณ์

ำรัส เศวตาภรณ์ เป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงชาวไทย และอดีตสมาชิกวงแกรนด์เอ็กซ์ มีชื่อเสียงจากงานเพลงประกอบภาพยนตร์ไทย สารคดี และ พระราชพิธีเสด็จออกมหาสมาคม เกิดเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2498 ที่ กรุงเทพมหานคร ฝั่งธนบุรี จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจำรัส เศวตาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนา สุทธิกมล

นา อาจาริยางกูล (10 ธันวาคม พ.ศ. 2519) เป็นที่รู้จักในชื่อ ธนา สุทธิกมล ชื่อเล่น ออย เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลงในนามคู่ดูโอ ลิฟท์กับออย ร่วมกับสุพจน์ จันทร์เจริญ มีผลงานอัลบั้มชุดแรกคือ อัลบั้ม Lift & Oil และมีผลงานชุดที่โด่งดังคือ Lift & Oil รมณ์บ่จอย นอกจากนั้นยังมีผลงานเพลงอื่นอย่าง ซุปเปอร์ทีน (รวมศิลปิน), สนามเด็กเต้น, ZOO-A-HA, รวมเพลงประกอบภาพยนตร์ 18-80 เพื่อนซี้ไม่มีซั้วปาฏิหาริย์โอม+สมหวัง, เพลบอยส์ และ DER-TAA-2 (เดอ-แต่-ทู) ผลงานการแสดง มีละครเรื่อง ปีหนึ่งเพื่อนกันและวันอัศจรรย์ของผม หวานใจ ผยอง รักสลับขั้ว ไฟสิ้นเชื้อ รหัสหัวใจ โซ่เสน่หา เพลิงพายุ คนละวัยหัวใจเดียวกัน ส่วนผลงานภาพยนตร์มีผลงานอย่างเรื่อง เด็กระเบิดยืดแล้วยึด และ 18-80 เพื่อนซี้ไม่มีซั้วฯ.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและธนา สุทธิกมล · ดูเพิ่มเติม »

ข้างหลังภาพ

้างหลังภาพ คือ นวนิยายประพันธ์โดยศรีบูรพา หรือชื่อจริงว่า กุหลาบ สายประดิษฐ์ เริ่มตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์ประชาชาติรายวัน เมื่อ พ.ศ. 2479 เป็นเรื่องราวของความรักต่างวัย ต่างสถานะ นอกจากเรื่องราวที่กินใจแล้ว ภาษาที่ใช้ในเรื่องเป็นภาษาที่งดงาม มีวลีที่เป็นที่ชื่นชอบมากมาย นวนิยายเรื่องนี้เมื่อรวมเล่มได้รับการตีพิมพ์ซ้ำถึง 39 ครั้ง ยังได้รับการยกย่องด้วย ความงามในเชิงวรรณศิลป์ และถูกนำไปแสดงเป็นละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมถึงละครเวที ในรูปแบบละครเพลงอีกด้วย กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนเรื่องนี้โดยอาศัยประสบการณ์จริงที่เคยไปดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและข้างหลังภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ด้วยเกล้า

้วยเกล้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและด้วยเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ความจำสั้น แต่รักฉันยาว

วามจำสั้น แต่รักฉันยาว (Best of Times) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากภาพยนตร์สั้นเรื่อง เวลา…รัก โดย ขนิษฐา ขวัญอยู่ ภาพยนตร์ทำรายได้ 49.1 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและความจำสั้น แต่รักฉันยาว · ดูเพิ่มเติม »

คาราวาน (วงดนตรี)

ราวาน เป็นวงดนตรีในแนวเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย และ เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตวงแรกในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคาราวาน (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

คู่กรรม

ู่กรรม เป็นนวนิยายแนวโศกนาฏกรรมและวีรคติ ประพันธ์โดย ทมยันตี ดำเนินเรื่องที่มีฉากหลังในประเทศไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยผู้ประพันธ์ได้รับแรงบันดาลใจเมื่อราวปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคู่กรรม · ดูเพิ่มเติม »

คงเดช จาตุรันต์รัศมี

งเดช จาตุรันต์รัศมี เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักเขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ นักร้องนำวงสี่เต่าเธอ ภายหลังหันมาเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ และกำกับภาพยนตร์ คงเดช จาตุรันต์รัศมี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เคยเป็นกอปปี้ไรท์เตอร์ในงานโฆษณา อ่านสปอตโฆษณาวิทยุ ทำเพลงโฆษณาและเพลงประกอบภาพยนตร์ เริ่มกำกับภาพยนตร์จากโครงการประกวดภาพยนตร์สั้น 'ส่งฝันสู่ฟิล์ม' ที่จัดขึ้นโดยนิตยสารซีเนแมก กำกับร่วมกับเกียรติ ศงสนันทน์ ที่เป็นเพื่อนตั้งแต่เรียนชั้นมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหล.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคงเดช จาตุรันต์รัศมี · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ พยอมยงค์

ประสิทธิ์ พยอมยงค์ (7 มีนาคม พ.ศ. 2469 - 2 เมษายน พ.ศ. 2553) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล - เรียบเรียงเสียงประสาน) และเจ้าของบทเพลงข้าวนอกนา บ้านเรา รักเธอเสมอ คนเดียวในดวงใจ ฆ่าฉันให้ตายดีกว่า เดือนเอ๋.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและประสิทธิ์ พยอมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราจีน ทรงเผ่า

ปราจีน ทรงเผ่า (10 ธันวาคม พ.ศ. 2489 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2548) เป็นนักดนตรี นักแต่งเพลง อดีตหัวหน้าวงดนตรีดิ อิมพอสซิเบิล.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปราจีน ทรงเผ่า · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัล

ปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัล (Peter Corp Dyrendal; เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2518) เป็นนักร้องและนักแสดงลูกครึ่งไทย-เดนมาร์ก เกิดและโตที่เดนมาร์ก เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 17 ปี กับผลงานการถ่ายนิตยสารและถ่ายโฆษณา หลังจากนั้นเขาได้เซ็นสัญญากับค่ายกลิทซ์ฯ ของมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ แต่ต่อมาค่ายก็ปิดตัวลงปีเตอร์จึงเซ็นสัญญากับแกรมมี่จนได้ออกอัลบั้มชุดแรก หิน ผา กา ดาบ ตอนอายุ 21 ปี มีซิงเกิ้ลฮิตหลายเพลงอาทิ "เจ้าทุยอยู่ไหน" และมีอัลบั้มต่อมาคือ Magic Peter มีซิงเกิ้ลฮิต อาทิ "อยากเกิดเป็นเธอ" และ "ตัวประหลาด" เป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัล · ดูเพิ่มเติม »

โหมโรง (ภาพยนตร์)

หมโรง (The Overture) เป็นภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2547 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับดนตรีไทย เนื้อเรื่องได้แรงบันดาลใจมาจากประวัติของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้รับรางวัลมากมายในประเทศ และยังได้รับเลือกในฐานะ Official Selection จากประเทศไทย ในการเข้าชิงสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในการประกาศรางวัลอะแคเดมีอีกด้วย กำกับโดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ และอำนวยการผลิตโดย นนทรีย์ นิมิบุตร และ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ภาพยนตร์ทำรายได้ 52.72 ล้านบาท นำแสดงโดย อนุชิต สพันธุ์พงษ์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, อาระตี ตันมหาพราน, สุเมธ องอาจ, ภูวฤทธิ์ พุ่มพวง และอาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ โตสง่า จากวงบอยไทย รับบทเป็น ขุนอิน ภายหลังดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อ พ.ศ. 2555 และเป็นละครเวทีมิวสิคัลโดยเวิร์คพอยท์-โต๊ะกลมโทรทัศน์ แสดงที่โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ เมื่อ พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โคตรรักเอ็งเลย

ตรรักเอ็งเลย (Loveaholic) ผลงานกำกับภาพยนตรเรื่องแรกของภูพิงค์ พังสะอาด (พิง ลำพระเพลิง) มือเขียนบทละครและภาพยนตร์ชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของประเทศ โดยเล่าเรื่องของความรักในอีกมุมมองหนึ่ง และนำประสบการณ์ชีวิตของตนเองมาถ่ายทอดเป็นภาพยนตร์เรื่องนี้ โดยได้เพื่อนรุ่นน้องร่วมสถาบันอย่าง โน้ส-อุดม แต้พานิช และเปิดโอกาสให้เขาเลือกนางเอกเอง โดยได้ ไหม-วิสา สารสาส มารับบทเป็นภรรยาของโน้สในภาพยนตร.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโคตรรักเอ็งเลย · ดูเพิ่มเติม »

เกริกพล มัสยวาณิช

กริกพล มัสยวาณิช (ฟลุค) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกริกพล มัสยวาณิช · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์

กียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ (30 มกราคม พ.ศ. 2506 -) เป็นหนึ่งในสมาชิกวงดนตรีเฉลียง ซึ่งได้เคยแสดงคอนเสิร์ตถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และในการกุศลต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกองทุนเฉลียง เพื่อมอบทุนสนับสนุนกิจกรรมการศึกษาสำหรับเด็ก.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

เรวัต พุทธินันทน์

รวัต พุทธินันทน์ (ชื่อเล่น เต๋อ; เกิด (5 กันยายน พ.ศ. 2491-27 ตุลาคม พ.ศ. 2539) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ อดีตสมาชิกวงดิ อิมพอสซิเบิ้ล และวงโอเรียนเต็ล ฟังก์ อีกทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์ (หรือที่รู้จักกันดีในนามจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม เมื่อ พ.ศ. 2526 เต๋อ เรวัต เป็นบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งวงการเพลงไทย เป็นโปรดิวเซอร์ นักดนตรี นักแต่งเพลงในตำนาน เป็นผู้ปฏิวัติวงการเพลงไทยให้ไปสู่ยุคทองแห่งความเจริญรุ่งเรือง และผู้ริเริ่มความทันสมัยของดนตรีสมัยใหม่ให้กับประเทศไทย เป็นผู้บุกเบิกแนวเพลงสตริงอันทันสมัยให้กับการเพลงไทย ผู้นำแนวเพลง ร๊อค ป๊อบ แดนซ์ โมเดิร์นแจ๊ส ฟังค์ ฯลฯ เข้ามาเป็นที่นิยมในไทย เป็นผู้มีคุณูปการ มหาศาลแก่วงการเพลงไทย เป็นผู้ปลุกปั้นศิลปินให้มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับ เป็นบุคคลตัวอย่าง แรงบันดาลใจให้กับนักร้องนักดนตรีของเมืองไทย มาจวบจนสมัยนี้.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเรวัต พุทธินันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เสียดาย

ียดาย (Daughter) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2537 นำแสดงโดย นุศรา ประวันณา, เขมสรณ์ หนูขาว, วิจิตรา ตริยะกุล, กาญจนา ขึ้นนกคุ้ม, วยุลี กิติอาภรณ์ชัย ร่วมด้วย จอนนี่ แอนโฟเน่, สรพงษ์ ชาตรี, ธัญญา โสภณ, รณ ฤทธิชัย, จีรุตน์ ณ นคร, กาญจนาพร ปลอดภัย, จักรกฤษณ์ คชรัตน์ บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเสียดาย · ดูเพิ่มเติม »

เอ๋อเหรอ

อ๋อเหรอ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อ 6 มกราคม พ.ศ. 2548 เป็นภาพยนตร์แนวตลก ดราม่า ผจญภัย ซึ่งเป็นการผจญภัยของ ต๋อง กับ ลูกแก้ว ซึ่งห่างจากพ่อแม่ของเขา โดยถูกคนร้ายถูกจับมาเพื่อที่จะมาขายผลไม้ในเมืองพัทยา ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำให้ นวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐ ได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2548 ขณะที่มีอายุเพียง 8 ขวบ ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง เนื่องจากสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ บิดาของเธอในฐานะนายกสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นประธานการจัดงานนั้น.

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเอ๋อเหรอ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก

อะเลตเตอร์ จดหมายรัก เป็นภาพยนตร์รักที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก · ดูเพิ่มเติม »

เงิน เงิน เงิน

งิน เงิน เงิน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเงิน เงิน เงิน · ดูเพิ่มเติม »

เปนชู้กับผี

ปนชู้กับผี เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่องที่ 3 ของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง และเป็นผลงานเรื่องแรกซึ่งวิศิษฏ์ให้ผู้อื่นเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ให้ นั่นคือ ก้องเกียรติ โขมศิริ หนึ่งใน "โรนินทีม" ซึ่งกำกับภาพยนตร์เรื่อง "ลองของ".

ใหม่!!: รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเปนชู้กับผี · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »