โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐอัศวินทิวทัน

ดัชนี รัฐอัศวินทิวทัน

รัฐอัศวินทิวทัน หรือ รัฐนิกาย (Deutschordensland หรือ Ordensstaat, State of the Teutonic Order หรือ Order-State) เป็นรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเมื่ออัศวินทิวทันได้รับชัยชนะต่อชนปรัสเซียเก่าที่เป็นเพกันทางตะวันตกของบอลติกในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในปี ค.ศ. 1224 ระหว่างการรณรงค์ของสงครามครูเสดตอนเหนือ อัศวินทิวทันรวมภราดรภาพลิโวเนียแห่งดาบ (Livonian Brothers of the Sword) ผู้เดิมมีอำนาจอยู่ในลิโวเนีย เป็นสาขาอิสระที่เรียกว่าลัทธิลิโวเนียใน..

28 ความสัมพันธ์: ชาวปรัสเซียเก่าพ.ศ. 1767พ.ศ. 2068การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์กดัญสก์ภาษาอังกฤษภาษาเยอรมันมัลบอร์กยุโรปเหนือรัฐบอลติกรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ราชรัฐลัทธินอกศาสนาสมัยกลางสันนิบาตฮันเซอสงครามครูเสดตอนเหนืออัศวินทิวทอนิกจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทวีปยุโรปทอรูนดัชชีปรัสเซียประเทศรัสเซียประเทศโปแลนด์ประเทศเยอรมนีโรมันคาทอลิกเอลบลองก์เจ้าชายมุขนายกเคอนิจส์แบร์ก

ชาวปรัสเซียเก่า

นเผ่าปรัสเซียภายในกลุ่มชนบอลติค ราว ค.ศ. 1200 บอลติคตะวันออกสีน้ำตาลและบอลติคตะวันตกสีเขียว เขตแดนที่แสดงเป็นเขตแดนโดยประมาณ ชนปรัสเซียเก่า หรือ ชนบอลติกปรัสเซีย (Old Prussians หรือ Baltic Prussians; Pruzzen or Prußen; Pruteni; Prūši; Prūsai; Prusowie) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ท้องถิ่นในกลุ่มชนบอลต์ (Balts) ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณปรัสเซีย ซึ่งเป็นดินแดนบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลบอลติกในบริเวณรอบ ๆ ลากูนวิตูลา (Vistula Lagoon) และ ลากูนคูโรเนียน (Curonian Lagoon) ภาษาที่พูดปัจจุบันเรียกว่าภาษาปรัสเซียเก่า ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในบริเวณที่นักวิชาการเชื่อว่าเกี่ยวข้องโดยตรงกับบริเวณลิทัวเนียที่นับถือลัทธิเพกันที่นับถือพระเจ้าเช่นเพอร์กูน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ชนปรัสเซียเก่าถูกพิชิตโดยอัศวินทิวทันและในที่สุดก็ค่อยๆ กลายเป็นเยอรมัน (Germanisation) ในหลายร้อยปีต่อมา อาณาจักรปรัสเซียเดิมของเยอรมนีนำชื่อนี้มาใช้เป็นชื่ออาณาจักร แม้ว่าจะมีผู้นำเป็นชาวเยอรมันผู้กลืนไปกับชนปรัสเซียเก่า ส่วนภาษาปรัสเซียเก่าก็สูญหายไปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17Encyclopædia Britannica entry 'Old Prussian language' ดินแดนของชนปรัสเซียเก่าเป็นดินแดนที่อยู่ราวตอนกลางและตอนใต้ของปรัสเซียตะวันออก — ปัจจุบัน Warmian-Masurian Voivodeship ของโปแลนด์ คาลินินกราด ของรัสเซีย และ ทางใต้ของ บริเวณไคลพาดา (Klaipėda Region) ของลิทัวเนี.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและชาวปรัสเซียเก่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1767

ทธศักราช 1767 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและพ.ศ. 1767 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2068

ทธศักราช 2068 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและพ.ศ. 2068 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์

มาร์ติน ลูเทอร์ การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ (Protestant Reformation) คือขบวนการการปฏิรูปศาสนาที่เริ่มโดย มาร์ติน ลูเทอร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

กดัญสก์

กดัญสก์ (Gdańsk) หรือชื่อเดิม ดันซิก (Danzig) เป็นเมืองบนชายฝั่งบอลติก ในตอนเหนือของประเทศโปแลนด์ เป็นเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 เป็นเมืองท่าที่สำคัญของโปแลนด์ และยังเป็นเมืองหลักของจังหวัดปอมอแช (พอเมอเรเนีย) ตั้งอยู่บนอ่าวกดัญสก์ (ทะเลบอลติก) และปากแม่น้ำมอตลาว.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและกดัญสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

มัลบอร์ก

ทิวทัศน์ของเมือง มัลบอร์ก (Malbork; Marienburg; Civitas Beatae Virginis) เป็นเมืองทางเหนือของประเทศโปแลนด์ เทศมณฑลมัลบอร์กเป็นเมืองหลักของจังหวัดปอมอแช มีเนื้อที่ 17.15 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 38,478 คน มัลบอร์กก่อตั้งโดยอัศวินทิวทอนิกในศตวรรษที่ 13 ปราสาทมัลบอร์กเป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงของเมืองนี้และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาต.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและมัลบอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปเหนือ

ยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปเหนือ ประกอบไปด้วย ดินแดนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์ อยู่ประมาณละติจูดที่ 55 องศาเหนือ - 71 องศาเหนือ ประกอบไปด้วยประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ซึ่งได้แก่ประเทศนอร์เวย์ ประเทศสวีเดน ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเดนมาร์ก ประเทศไอซ์แลนด์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวนอร์ดิก ในปีพ.ศ. 2541 มีประชากรทั้งหมด 35,086,982 คน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,502,7863 ตารางกิโลเมตร สำหรับภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาติวโตนิก ได้แก่ภาษาของพวกสแกนดิเนเวีย (ยุโรปเหนืออาจหมายถึงหมู่เกาะอังกฤษ และบางประเทศที่อยู่ใกล้เคียงก็ได้)เ่รรร หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและยุโรปเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบอลติก

รัฐบอลติก (Baltic states) เป็นชื่อรวมเรียกสามประเทศทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลบอลติก คือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย ในระหว่างปี 1918-1920 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศเหล่านี้ได้รับเอกราชปกครองตนเองแบบสาธารณรัฐระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและรัฐบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1789 แต่ละรัฐที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ ต่างก็มีสิทธิทางการปกครองและทางด้านการยุติธรรมที่ต่างกันไปตามแต่จะระบุโดยพระจักรพรรดิ รัฐของจักรวรรดิ (โรมันอันศักดิ์สิทธิ์) (Reichsstand หรือ Reichsstände; Imperial State/Estate) คือ “หน่วย” ที่เป็น “รัฐ” ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่มีสิทธิในการออกเสียงในสภานิติบัญญัติแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ รัฐหลายรัฐไม่มีที่นั่งในจักรวรรดิ หรือเป็นรัฐที่มีที่นั่งแต่ไม่มีสิทธิออกเสียง หรือมีสิทธิในการเป็นปกครองตนเองภายใต้การกำกับของจักรพรรดิ รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แต่ละรัฐไม่ขึ้นต่อประมุขของรัฐของจักรวรรดิอื่น ๆ แต่ขึ้นตรงต่อสมเด็จพระจักรพรรดิ นอกจากนั้นประมุขของรัฐในจักรวรรดิก็ยังมีสิทธิและอภิสิทธิ์หลายอย่างที่รวมทั้งสิทธิในการปกครองดินแดนของตนเองบ้าง.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐ

ราชรัฐ เป็นคำที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เรียกเขตการปกครองที่มีประมุขเป็นเจ้าซึ่งมีอิสริยยศต่ำกว่าพระมหากษัตริย์ ราชรัฐมี 4 ชั้น คือ.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและราชรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธินอกศาสนา

้อน Mjölnir ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของลัทธิเพกันใหม่เยอรมัน ลัทธินอกศาสนา หรือ เพเกิน หรือ เพแกน (Paganism มาจากภาษาPaganus แปลว่า “ผู้ที่อยู่ในชนบท”) เป็นคำที่มีความหมายกว้างที่ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์ศาสนาในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็จะหมายถึงผู้ที่มีธรรมเนียมการนับถือพระเจ้าหลายองค์ (polytheistic) หรือศาสนาพื้นบ้าน (folk religion) โดยทั่วไปในโลกจากมุมมองของผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนาในโลกตะวันตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของผู้ที่ปฏิบัติตามแบบเจตนิยม (spiritualism) วิญญาณนิยม (animism) หรือลัทธิเชมัน เช่นในศาสนาพื้นบ้าน ในลัทธิการนับถือพระเจ้าหลายองค์ หรือในลัทธินอกศาสนาใหม่ คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยู่นอกกลุ่มศาสนาอับราฮัมของผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยม (monotheism) ที่รวมทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่ว่านี้รวมทั้งศาสนาตะวันออก (Eastern religions) ปรัมปราวิทยาอเมริกันพื้นเมือง (Native American mythology) และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปที่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายที่แคบลง "ลัทธินอกศาสนา" จะไม่รวมศาสนาของโลก (world religions) ที่เป็นศาสนาที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างเป็นทางการแต่จะจำกัดอยู่ในศาสนาท้องถิ่นที่ยังไม่ได้จัดอยู่ในระบบศาสนาของโลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาดสาวก (proselytism) และการความนิยมในการนับถือปรัมปราวิทยาต่าง ๆ (mythology) คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” เป็นคำที่ผู้นับถือคริสต์ศาสนานำมาใช้สำหรับ “เจนไทล์” (gentile) ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยามโดยหมู่ผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยมของโลกตะวันตก เทียบเท่ากับการใช้คำว่า “heathen” (ฮีทเธน) หรือ “อินฟิเดล” (infidel) หรือ “กาฟิร” (kafir หรือ كافر) และ “มุชริก” (mushrik หรือ مشرك ผู้เคารพรูปปั้น) ในการเรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยาจึงเลี่ยงใช้คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่าวถึงความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม, วิญญาณนิยม, ลัทธิชามัน หรือสรรพเทวนิยม (pantheism) แต่ก็มีผู้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป็นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุมมองหนึ่งและมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" ก็กลายมาเป็นที่นิยมใช้กันสำหรับผู้นับถือลัทธินอกศาสนาใหม่ ฉะนั้นนักวิชาการหลายแขนงในปัจจุบันจึงต้องใช้คำนี้ในความหมายที่แบ่งเป็นสามกลุ่ม: พหุเทวนิยมในประวัติศาสตร์ (เช่นลัทธินอกศาสนาเซลต์ (Celtic paganism) หรือลัทธินอกศาสนานอร์ส (Norse paganism)), ศาสนาพื้นบ้าน/ศาสนาเผ่าพันธุ์/ศาสนาท้องถิ่น (เช่น ศาสนาพื้นบ้านของชาวจีนหรือ ศาสนาพื้นบ้านของชาวแอฟริกา) และลัทธินอกศาสนาใหม่ (เช่นวิคคา (Wicca) และ ลัทธินอกศาสนาใหม่เยอรมัน (Germanic Neopaganism)).

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและลัทธินอกศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตฮันเซอ

ทางอากาศของลือเบค "''ราชินีแห่งฮันเซ่อ''" สันนิบาตฮันเซอ (Hanseatic League) และรู้จักในชื่อ ฮันเซอ (Hanse) หรือ ฮันซา (Hansa) ด้วย คือกลุ่มพันธมิตรทางทหารของเมืองการค้าและสมาคมพ่อค้าที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อรักษาเอกสิทธิ์ในการค้าขายตามชายฝั่งทะเลของยุโรปเหนือตั้งแต่ทะเลบอลติกไปจนถึงทะเลเหนือ และบนแผ่นดินใหญ่ ในสมัยยุคกลางตอนปลายไปจนถึงสมัยใหม่ตอนต้น (ราวตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 จนถึง คริสต์ศตวรรษที่ 17) เมืองฮันเซอมีระบบกฎหมายและการป้องกันที่เป็นของตนเองและระบบความช่วยเหลือระหว่างกันและกัน.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและสันนิบาตฮันเซอ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดตอนเหนือ

งครามครูเสดตอนเหนือ (Northern Crusades) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นโดย กษัตริย์เดนมาร์ก สวีเดน รวมถึงภาคีลิวอเนียน และคณะอัศวินทิวทัน ซึ่งร่วมกับเหล่าพันธมิตรต่อต้านชาวลัทธิเพกัน รอบ ๆ ดินแดนยุโรปภาคเหนือ ชายฝั่งตะวันออก และทางตอนใต้ของทะเลบอลติก สงครามครูเสดตอนเหนือนี้อาจรวมไปถึงการรบของสวิดิช และเยอรมันคาทอลิก ที่ต่อสู้กับชาวรัสเซีย ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ หลายสงครามนี้ถูกเรียกว่าเป็นครูเสดในยุคกลาง ส่วนสงครามนอกเหนือจากนั้นซึ่งรวมไปถึงส่วนใหญ่ของสวิดิชครูเสด จะถูกเรียกรวมให้เป็นครูเสด โดยนักประวัติศาสตร์หัวชาตินิยม ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โลกบอลติกตะวันออกนั้น ถูกแปลงให้เป็นพื้นที่ทางการทหารที่มุ่งพิชิตพวกแรก ๆ คือ พวกลิวอเนียน พวกเอสโทเนียน หลังจากนั้น ก็เป็น ชาวเซมิกัลป์เลียน คูโรเนียน และชาวปรัสเซียนที่ได้รับความพ่ายแพ้ ถูกเข้ายึด แม้กระทั่งทำลายล้าง โดยกลุ่มชาวเดนมาร์ก เยอรมัน และสวีเดน.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและสงครามครูเสดตอนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินทิวทอนิก

ณะภราดรบ้านนักบุญมารีย์เยอรมันในเยรูซาเล็ม (Ordo domus Sanctæ Mariæ Theutonicorum Hierosolymitanorum) หรือชื่อสามัญว่า คณะทิวทอนิก (หรือ คณะเยอรมันในปัจจุบัน) เป็นคณะอัศวินสมัยกลางของเยอรมนี และในสมัยปัจจุบันกลายเป็นคณะศาสนาคาทอลิกเต็มตัว ก่อตั้งขึ้นราว ปี..

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและอัศวินทิวทอนิก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทอรูน

ทอรูน (Toruń; Thorn; Torń) เป็นเมืองโบราณตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศโปแลนด์ บนฝั่งแม่น้ำวิสตูลา มีประชากร 205,934 คน ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและทอรูน · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีปรัสเซีย

ัชชีปรัสเซีย หรือ ดัชชีพรอยเซิน (Herzogtum Preußen; Prusy Książęce; Prūsijos kunigaikštystė; Duchy of Prussia) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแคว้นปรัสเซีย รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1525 จนมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1618 รัฐนี้เริ่มจากการเป็นดัชชีโปรเตสแตนต์ที่ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาเยอรมัน โปแลนด์ และ ปรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1525 ระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์อัลเบรชท์ผู้เป็นแกรนด์มาสเตอร์แห่งคณะอัศวินทิวทอนิกก็ยุบคณะและตั้งตนเป็นอัลเบรชท์ ดยุกแห่งปรัสเซีย ดัชชีของอัลเบรชท์มีเมืองหลวงอยู่ที่เคอนิกสแบร์กก็ได้รับการก่อตั้งขึ้นภายใต้ราชบัลลังก์แห่งราชอาณาจักรโปแลนด์ (Crown of the Kingdom of Poland) ที่ต่อมาตกไปอยู่ในความครอบครองของเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบูร์กแห่งราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์นในปี ค.ศ. 1618 การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรครั้งนี้เรียกว่าบรันเดนบูร์ก-ปรัสเซีย ฟรีดิช วิลเฮล์มได้รับอำนาจบริหารราชอาณาจักรเต็มที่ในปี ค.ศ. 1657 สนธิสัญญาเวห์เลา (Treaty of Wehlau) ที่ได้รับการยืนยันในปี ค.ศ. 1660 ในสนธิสัญญาโอลิวา ดัชชีปรัสเซียได้รับการเลื่อนฐานะขึ้นเป็นราชอาณาจักรปรัสเซียในปี ค.ศ. 1701.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและดัชชีปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

เอลบลองก์

เอลบลองก์ (Elbląg) หรือ เอ็ลบิง (Elbing) เป็นเมืองทางตอนเหนือของประเทศโปแลนด์ มีประชากร 127,892 คน (ค.ศ. 2006) เป็นเมืองหลวงของอดีตจังหวัดเอลบลองก์ เป็นเมืองท่าบนริมฝั่งแม่น้ำเอลบลองก์ที่ไหลลงลากูนวิสตูลา ประมาณ 10 กิโลเมตรทางเหนือ เป็นเมืองท่าทางทะเลและมีอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ อุตสาหกรรมโลหการ เครื่องจักร หมวดหมู่:เมืองในประเทศโปแลนด์.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและเอลบลองก์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายมุขนายก

ันน์ ออทโท ฟอน เกมมิงเงิน เจ้าชายบิชอปแห่งเอาก์สบูร์กในบาวาเรีย เจ้าชายมุขนายก (Prince-Bishop) เป็นมุขนายกที่มีศักดิ์เป็นเจ้าชายแห่งคริสตจักรโดยมีราชรัฐในปกครองอย่างน้อยหนึ่งแห่ง ทำให้เขตปกครองของพระองค์ทั้งราชรัฐและมุขมณฑลมีลักษณะทับซ้อนกันในพื้นที่เดียว กรณีที่เป็นอัครมุขนายกปกครองราชรัฐก็เรียกว่า เจ้าชายอัครมุขนายก ถ้าเป็นนักพรตปกครองราชรัฐเรียกว่าเจ้าชายอธิการอาราม (prince-abbot) ในยุโรปตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 จักรพรรดิโรมันเริ่มสูญเสียพระราชอำนาจเพราะถูกคุกคามจากพวกอนารยชน ดังนั้นมุขนายกซึ่งเป็นผู้นำฝ่ายคริสตจักรจึงต้องขึ้นมาทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการฝ่ายอาณาจักรแทน บางครั้งก็ถึงกับต้องนำทัพเองด้วยถ้าจำเป็น ในจักรวรรดิไบเซนไทน์ จักรพรรดิก็นิยมแต่งตั้งหรือพระราชทานสิทธิและหน้าที่พิเศษให้มุขนายกบางองค์ปกครองรัฐในมุขมณฑลของตนได้ ซึ่งถือเป็นแนวพัฒนาการของลัทธิจักรพรรดิสันตะปาปานิยมที่จะให้คริสตจักรตะวันออกมาทำงานให้กับจักรวรรดิด้วย เช่น มีอัครบิดรสากลที่ทำหน้าที่คล้ายเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศาสนาให้กับองค์จักรพรรดิ จักรวรรดิรัสเซียมีการดำเนินการยิ่งกว่านี้อีก กล่าวคือยุบตำแหน่งอัครบิดรแล้วให้คริสตจักรอยู่ภายใต้บังคับบัญชาของฝ่ายอาณาจักร คำว่า ฮอคชติฟท์ ในภาษาเยอรมันก็หมายถึงอำนาจหน้าที่ฝ่ายอาณาจักรที่มุขนายกสามารถว่าการปกครองราชรัฐของตนได้ ถ้าเป็นของอัครมุขนายก เรียกว่า แอร์ซชติฟท.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและเจ้าชายมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

เคอนิจส์แบร์ก

ปรัสเซียตะวันออก ตั้งแต่ปี 1919 ถึงปี 1939 ตราประจำเมืองเคอนิจส์แบร์ก เคอนิจส์แบร์ก (Königsberg) เป็นอดีตชื่อเมืองของเมืองคาลินินกราด โดยเป็นอดีตเมืองของชาวปรัสเซียเก่า ในสมัย Sambian ต่อมาเมืองนี้เป็นเมืองของ อัศวินทิวทอนิก, ดัชชีปรัสเซีย, ราชอาณาจักรปรัสเซีย, จักรวรรดิรัสเซีย และ เยอรมนี จนถึงปี 1946 หลังจากที่ถูกทำลายในช่วง สงครามโลกครั้งที่สองโดยกองทัพโซเวียต เคอนิจส์แบร์กถูกผนวกโดยสหภาพโซเวียต ต่อมาเมืองเคอนิจส์แบร์กถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองคาลินินกราด ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เคอนิจส์แบร์ก ได้รับความเสียหายจากการทิ้งระเบิดโดยฝ่ายสัมพันธมิตร ในปี 1944 และในช่วงถูกล้อม ในปี 1945 เคอนิจส์แบร์กถูกยึดครองและปกครองโดยสหภาพโซเวียต ชาวเยอรมันที่อยู่ในเมืองถูกขับไล่ทั้งหมดและแทนที่ด้วยชาวรัสเซียและเชื้อชาติอื่นในสหภาพโซเวียต ตามนโยบายการแผลงเป็นรัสเซีย เคอนิจส์แบร์ก ถูกใช้ชื่อในภาษารัสเซียในชื่อ "Kyonigsberg" (Кёнигсберг) ก่อนถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเมือง "คาลินินกราด" ในปี 1946 ซึ่งตั้งชื่อตามประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียต มีฮาอิล คาลีนิน.

ใหม่!!: รัฐอัศวินทิวทันและเคอนิจส์แบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

DeutschordenslandMonastic State of the Teutonic KnightsMonastic State of the Teutonic OrderMonastic stateOrdensstaatOrdenstaatPrussia under the Teutonic OrderState of the Teutonic OrderTeutonic Order state

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »