สารบัญ
บงกช
งกช อาจหมายถึง.
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู มาเธอร์ คีพเปอร์และพ.ศ. 2550
การ์ตูนญี่ปุ่น
การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).
ดู มาเธอร์ คีพเปอร์และการ์ตูนญี่ปุ่น
ภาพยนตร์โลดโผน
นตร์โลดโผน (action film, action movie) เป็นประเภทภาพยนตร์ที่ซึ่งตัวเอก (อาจมีคนเดียวหรือมากกว่านั้น) ถูกผลักดันเข้าสู่ชุดความท้าทายต่าง ๆ ได้แก่ ความรุนแรง การไล่ล่าอย่างบ้าคลั่ง การต่อสู้ระยะประชิด และการใช้ทักษะทางร่างกายในการต่อสู้ ภาพยนตร์โลดโผนมีแนวโน้มที่จะแสดงภาพตัวเอกที่มีเชาวน์ไวและกำลังดิ้นรนให้พ้นความยากลำบาก ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ตัวร้าย หรือการไล่ล่า แต่โดยทั่วไปก็มักลงเอยด้วยชัยชนะของตัวเอก แม้ว่าฉากโลดโผนจะเป็นส่วนประกอบที่ปรากฏในภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ มานาน แต่ประเภท "ภาพยนตร์โลดโผน" ก็เพิ่งจะเริ่มพัฒนาขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1970 ร่วมกับการเพิ่มขึ้นของฉากเสี่ยงอันตรายและผลพิเศษ (special effect) นี้เอง ทุกวันนี้ ความก้าวหน้าด้านกระบวนจินตภาพใช้คอมพิวเตอร์สร้างหรือซีจีไอ (computer-generated imagery, CGI) ทำให้ผู้ผลิตภาพยนตร์สามารถสร้างตอนโลดโผนและผลพิเศษทางภาพ (visual effect) อื่น ๆ ได้ถูกกว่าและง่ายกว่าในอดีตที่จำเป็นต้องอาศัยความเพียรของตัวแสดงเสี่ยงแทนเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ผู้ชมมักมีปฏิกิริยาคละเคล้ากันไปต่อภาพยนตร์โลดโผนที่มีปริมาณซีจีไอมากอย่างมีนัยสำคัญ โดยภาพยนตร์ที่ใช้แอนิเมชันในการสร้างเหตุการณ์ที่ไม่สมจริงและไม่น่าเชื่ออย่างยิ่งมักได้รับการวิพากษ์วิจารณ์บ่อยครั้ง ภาพยนตร์แนวนี้มีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับภาพยนตร์ผจญภัยและภาพยนตร์ระทึกขวัญ (thriller film) และอาจมีองค์ประกอบของบันเทิงคดีแนวจารกรรมและจารกรรมอยู่ด้ว.
ดู มาเธอร์ คีพเปอร์และภาพยนตร์โลดโผน
จินตนิมิต
นตนิมิต (fantasy) เป็นงานวรรณศิลป์ประเภทหนึ่งที่มีเค้าโครงหรือเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์และเรื่องเหนือจริง มักมีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในยุคกลางของยุโรป หรือมีลักษณะที่แสดงถึงยุคเดียวกันนั้น เช่นสถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้าง เครื่องแต่งกาย หรือเทคโนโลยี โลกแห่งจินตนิมิตมักยอมรับสภาวะเหนือจริงและเวทมนตร์ต่างๆ เหมือนเป็นเรื่องปกติ ความแตกต่างระหว่างจินตนิมิต กับนิยายวิทยาศาสตร์หรือนิยายสยองขวัญ คือลักษณะของเทคโนโลยีและวิธีการนำเสนอเกี่ยวกับความตาย งานจินตนิมิตประกอบด้วยผลงานประพันธ์ของนักเขียน ศิลปิน นักดนตรี หรือนักสร้างภาพยนตร์มากมาย นับแต่อดีตกาลประหนึ่งปกรณัมหรือตำนานลี้ลับ สืบต่อมาจนถึงปัจจุบันที่เผยแพร่แก่ผู้คนจำนวนมาก.
ดู มาเธอร์ คีพเปอร์และจินตนิมิต
คอมพิวเตอร์
อบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็มและสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer จากซีเอ็นเอ็น คอมพิวเตอร์ (computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจำรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่าง ๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่าง ๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ.
ดู มาเธอร์ คีพเปอร์และคอมพิวเตอร์
โชเน็ง
น็น แปลว่า "หนุ่มน้อย" ซึ่งหมายถึงผู้ชายอายุไม่เกิน 18 ปี ภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำว่าโชเน็งถูกใช้เป็นคำเรียกการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีเด็กวัยรุ่นชายเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ตัวอย่างการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็งที่มีชื่อเสียง ได้แก่ เซนต์เซย์ย่า ดราก้อนบอล ชาแมนคิง วันพีซ กินทามะ นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ และ มุซาชิ การ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็งส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการต่อสู้ (ไม่ว่าจะเป็นการรบราฆ่าฟันหรือการต่อสู้ในสนามกีฬา) และมักมีการแทรกมุขตลกเพื่อไม่ให้เรื่องหนักเกินไป ตัวละครหลักโดยมากเป็นผู้ชาย และมิตรภาพระหว่างตัวละครชายมักเป็นจุดสำคัญของเรื่อง ตัวละครหญิงในเรื่องส่วนมากจะมีหน้าตาและรูปร่างสวยงามเกินความเป็นจริง สไตล์ในการวาดภาพของการ์ตูนแนวโชเน็งจะไม่หวานแหววและละเอียดอ่อนเหมือนกับการ์ตูนแนวโชโจ การ์ตูนแนวโชเน็งหลายๆ เรื่องมีกลุ่มผู้ติดตามหญิงที่นำเนื้อเรื่องและตัวละครในเรื่องไปเขียนโดจินชิและแฟนฟิกชั่นแนวยาโออิและโชตะคอน.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Mother keeperมาเธอร์คีปเปอร์