สารบัญ
ช
ช (ช้าง) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 10 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฉ (ฉิ่ง) และก่อนหน้า ซ (โซ่) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ช ช้าง” อักษร ช เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t͡ɕʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /t͡ʃ/, /ʃ/ หรืออื่น ๆ ที่ใกล้เคียง ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและช
บ
(ใบไม้) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 26 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก น (หนู) และก่อนหน้า ป (ปลา) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรกลาง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “บ ใบไม้” อักษร บ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /b/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ บ เพียงตัวเดียว หรือเติมไม้เอกด้วย สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ คือ บ, บ่ อ่านว่า บอ, บ่อ แปลว่า "ไม่" เป็นคำพิเศษที่แสดงถึงความเป็นตรงกันข้าม.
ดู มาตราและบ
ฟ
ฟ (ฟัน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 31 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก พ (พาน) และก่อนหน้า ภ (สำเภา) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฟ ฟัน” อักษร ฟ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /f/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /f/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด หรือ /v/ ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและฟ
ฎ
ฎ (ชฎา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 14 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ญ (หญิง) และก่อนหน้า ฏ (ปฏัก) ออกเสียงอย่าง ด (เด็ก) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรกลาง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฎ ชฎา” อักษร ฎ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /d/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ฎ อยู่คำเดียวคือ ฎีกา นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต ฎ เป็นพยัญชนะที่มักจะใช้สับสนกับ ฏ อยู่เสมอ เนื่องจากมีลักษณะคล้ายกัน และปรากฏอยู่บนแป้นพิมพ์ในตำแหน่งใกล้เคียงกัน หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและฎ
พ
พ (พาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 30 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฝ (ฝา) และก่อนหน้า ฟ (ฟัน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “พ พาน” อักษร พ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /pʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและพ
ก
ก (ไก่) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 1 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับก่อนหน้า ข (ไข่) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรกลาง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ก ไก่" อักษร ก เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /k/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /k̚/ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น สามารถควบกับอักษร ร ล ว ได้ เมื่อเป็นตัวสะกด นับเป็นตัวสะกดแม่กก และนับเป็นตัวแทนของตัวสะกดแม่กกด้วย ในหนังสือโบราณ มีการใช้ "ก หัน" คือ อักษร ก สองตัว แทนไม้หันอากาศและตัว ก สะกด ดังนี้ รกก (รัก), หกก (หัก) อักษร ก นี้ เทียบได้กับอักษรในระบบอักษรอื่นๆ ของอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลายระบบ เช่น ระบบอักษรเทวนาครี ระบบอักษรมอญพม่า ระบบอักษรขอม เป็นต้น โดยอักษร ก ถือเป็นพยัญชนะตัวแรกเสมอ ก เพียงตัวเดียวแล้วเติมไม้ไต่คู้ โดยไม่มีสระ สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ คือ ก็ (อ่านว่า เก้าะ) เป็นคำสันธานแปลว่า แล้ว, จึง, ย่อม.
ดู มาตราและก
กฎหมาย
กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของสังหาชิดมทรัพย์ส่วนตัวและอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายทรัสต์ (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุนและความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิหรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความเสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎหมายอาญาให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้ กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติกฎหมาย การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการเลือกตั้งผู้แทนทางการเมือง กฎหมายปกครองใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่กฎหมายระหว่างประเทศควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราชในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อมหรือการปฏิบัติทางทหาร นักปรัชญากรีก อริสโตเติล เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใด ๆ" ระบบกฎหมายกล่าวถึงสิทธิและความรับผิดชอบในหลายวิถีทาง ความแตกต่างทั่วไปสามารถตัดสินได้ระหว่างเขตอำนาจซีวิลลอว์ ซึ่งประมวลกฎหมายของตน และระบบคอมมอนลอว์ ที่ซึ่งผู้พิพากษาบัญญัติกฎหมายนั้นไม่ถูกรวบรวม ในบางประเทศ ศาสนาเป็นที่มาของกฎหมาย กฎหมายเป็นบ่อเกิดอันมีคุณค่าของการสอบสวนอย่างคงแก่เรียน ไปยังประวัติศาสตร์กฎหมาย ปรัชญา การวิเคราะห์เศรษฐกิจหรือสังคมวิทยา กฎหมายยังยกประเด็นที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวข้องกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ผู้ประพันธ์ อานาตอล ฟร็องส์ กล่าวใน..
ญ
ญ (หญิง) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 13 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฌ (เฌอ) และก่อนหน้า ฎ (ชฎา) ออกเสียงอย่าง ย (ยักษ์) เมื่อเป็นพยัญชนะต้น และออกเสียงอย่าง น (หนู) เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ญ หญิง” อักษร ญ มีเครื่องหมายอยู่ข้างใต้ เรียกว่า เชิง แต่นิยมตัดเชิงออกเป็น เมื่อเขียนคำที่มีสระอุ หรือสระอู เช่น กตัญญู อักษร ญ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /j/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ (เดิมออกเสียง /ɲ/ ทั้งสองอย่างแต่แปรเปลี่ยนไป) กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /ɲ/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด เช่น España เอสปาญ.
ดู มาตราและญ
ฏ
ฏ (ปฏัก) เป็นพยัญชนะตัวที่ 15 ในลำดับพยัญชนะไทย จัดเป็นพวกอักษรกลาง เมื่อเป็นพยัญชนะต้น มีลักษณะการออกเสียง เช่นเดียวกับ ต (เต่า) เมื่อเป็นพยัญชนะตัวสะกด จัดอยู่ในแม่กด ใช้เฉพาะในคำที่มาจากบาลีและสันสกฤต อักษร ฏ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ ปัจจุบัน ฏ ไม่มีที่ใช้เป็นพยัญชนะต้นของคำ มีเพียงใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต (ซึ่งจะปรากฏกลางคำหรือท้ายคำ) ฏ เป็นพยัญชนะที่มักจะใช้สับสนกับ ฎ อยู่เสมอ เนื่องจากมีลักษณะคล้ายกัน และปรากฏอยู่บนแป้นพิมพ์ในตำแหน่งใกล้เคียงกัน.
ดู มาตราและฏ
ฐ
(ฐาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 16 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฏ (ปฏัก) และก่อนหน้า ฑ (มนโฑ) ออกเสียงอย่าง ถ (ถุง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ใระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฐ ฐาน” (บางคนก็เรียกว่า ฐ สัณฐาน) อักษร ฐ มีเครื่องหมายอยู่ข้างใต้ เรียกว่า เชิง แต่นิยมตัดเชิงออกเป็น เมื่อเขียนคำที่มีสระอุ หรือสระอู อักษร ฐ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /tʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/.
ดู มาตราและฐ
ภ
ภ (สำเภา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 32 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฟ (ฟัน) และก่อนหน้า ม (ม้า) ออกเสียงอย่าง พ (พาน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ภ สำเภา” อักษร ภ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /pʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและภ
ภาษาไทย
ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.
ม
ม (ม้า) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 33 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ภ (สำเภา) และก่อนหน้า ย (ยักษ์) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ม ม้า” อักษร ม เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /m/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /m/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและม
มาตราตวง
มาตราตวง เป็นมาตราที่นิยมก่อนการมีมาตราชั่ง และวัด โดยในสมัยโบราณนิยมใช้มาตราที่มีอยู่ในตัวเช่นมือ กำมือ ฟายมือ หรือใช้อุปกรณ์หาได้ง่ายๆ เช่นกะลามะพร้าว กระบุงสานจากไม้ไผ่ ซึ่งขนาดใหญ่เล็กแตกต่างกันไปในแต่ละที่แต่ละคน ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 5 มีความคิดตั้งกระทรวงขึ้นเพื่อจัดการเกี่ยวกับการค้าขาย และจัดการเรื่องมาตรฐานการชั่งตวงวัดให้มีมาตรฐานเดียวกันทั้งในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ โดยขอเป็นสมาชิกองค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการชั่งตวงวัดซึ่งได้รับการตอบรับเป็นสมาชิกในปี..
ย
(ยักษ์) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 34 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ม (ม้า) และก่อนหน้า ร (เรือ) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ย ยักษ์” อักษร ย เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /j/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /j/ รูปสระ ตัวยอ (ย) ยังสามารถใช้ประสมรูปสระ เอียะ และ เอี.
ดู มาตราและย
ร
ร (เรือ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 35 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ย (ยักษ์) และก่อนหน้า ล (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ร เรือ” อักษร ร เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /r/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ ร ที่เป็นพยัญชนะสะกดซึ่งตามหลังสระ ออ จะไม่ปรากฏตัวออ ให้ใช้ ร ต่อท้ายพยัญชนะต้นไปได้เลย เช่น กร (กอน) พร (พอน) ละคร (ละ-คอน) เป็นต้น.
ดู มาตราและร
ล
ล (ลิง) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 36 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ร (เรือ) และก่อนหน้า ว (แหวน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ล ลิง” อักษร ล เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /l/ พยัญชนะตัวสะกด ให้เสียง /n/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /l/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและล
ว
ว (แหวน) เป็นพยัญชนะตัวที่ 37 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ล (ลิง) และก่อนหน้า ศ (ศาลา) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ว แหวน” อักษร ว เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /w/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /w/ รูปสระ ตัววอ (ว) ยังสามารถใช้เป็นสระอัว เมื่อมีพยัญชนะสะกด เช่น สวน และใช้ประสมสระอัวะ และ อัว.
ดู มาตราและว
ศ
ศ (ศาลา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 38 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ว (แหวน) และก่อนหน้า ษ (ฤๅษี) ออกเสียงอย่าง ส (เสือ) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ศ ศาลา" (บางคนก็เรียกว่า ศ คอ เนื่องจากมีรูปร่างคล้าย ค) อักษร ศ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /s/ และพยัญชนะส.ะกด ให้เสียง /t̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและศ
ษ
ษ (ฤๅษี) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 39 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ศ (ศาลา) และก่อนหน้า ส (เสือ) ออกเสียงอย่าง ส (เสือ) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ษ ฤๅษี” (บางคนก็เรียกว่า ษ บอ เนื่องจากมีรูปร่างคล้าย บ) อักษร ษ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /s/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและษ
ส
ส (เสือ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 40 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ษ (ฤๅษี) และก่อนหน้า ห (หีบ) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ส เสือ" อักษร ส เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /s/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /s/ หรือ /z/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและส
หน่วยความยาว
หน่วยของจีนดั้งเดิมที่เราเคยได้พบกันสำหรับผู้ที่ชอบอ่านหนังสือกำลังภายในก็เห็นจะมีอยู่ 2 คำ คือ ลี้ กับ เชียะ ลี้นั้นเป็นความยาวของระยะทางประมาณครึ่งกิโลเมตรหรือ 500 เมตร เช่น “กำแพงเมืองจีนที่สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ฮั่นนั้นยาวกว่าสมัยราชวงศ์ฉินมากนัก กล่าวคือมีความยาวสองหมื่นกว่าลี้ นับเป็นราชวงศ์ที่สร้างกำแพงเมืองจีนได้ยาวที่สุดในประวัติศาสตร์” ส่วน เชียะ (บางทีก็เขียนเป็น เฉียะ หรือ เฉี้ยะ) นั้นยาวเท่ากับ 33.33 ซม.
ฬ
ฬ (จุฬา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 42 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ห (หีบ) และก่อนหน้า อ (อ่าง) ออกเสียงอย่าง ล (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฬ จุฬา" อักษร ฬ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /l/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ ปัจจุบัน ฬ ไม่มีที่ใช้เป็นพยัญชนะต้นของคำ มีเพียงใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีเท่านั้น (ซึ่งจะปรากฏกลางคำหรือท้ายคำ เช่น กีฬา นาฬิกา กาฬ วาฬ) คำโบราณที่เคยใช้ ฬ ก็เปลี่ยนไปใช้ ล แทนเช่น.
ดู มาตราและฬ
ฌ
(เฌอ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 12 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับหลังจาก ซ โซ่ และก่อนหน้า ญ หญิง ออกเสียงอย่าง ช ช้าง จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฌ เฌอ" บางคนเรียก "ฌ กะเฌอ" ซึ่งไม่ถูกต้อง เพราะคำว่า "กระเชอ" นั้นสะกดด้วย ช ช้าง หมายถึง ภาชนะสานแบบหนึ่ง ดังที่ใช้ว่า "กระเชอก้นรั่ว" ส่วน "เฌอ" ที่ใช้ ฌ เฌอ แปลว่า ต้นไม้ เป็นคำมาจากภาษาเขมร ฌ เฌอ ใช้เขียนคำไม่กี่คำ โดยเฉพาะคำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ส่วนในภาษาไทยนั้น ก็มีคำที่ใช้ ฌ เฌอ ทั้งที่เป็นพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายไม่มากนัก คำที่ใช้ ฌ เฌอ ในปัจจุบันมีดังนี้เป็นต้น ฌาน, ฌาปน-, เฌอ, เฌอเอม ฯลฯ อักษร ฌ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t͡ɕʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ (ในทางทฤษฎี) กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /ʃ/ หรือ /ʒ/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะก.
ดู มาตราและฌ
จ
จ (จาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 8 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ง (งู) และก่อนหน้า ฉ (ฉิ่ง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “จ จาน” อักษร จ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t͡ɕ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและจ
ธ
ธ (ธง) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 24 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ท (ทหาร) และก่อนหน้า น (หนู) ออกเสียงอย่าง ท (ทหาร) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ธ ธง" อักษร ธ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /tʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /θ/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด อักษร ธ ของไทยสามารถเทียบได้กับอักษรอื่นๆ ในระบบอินเดีย ซึ่งนิยมถอดด้วยอักษรโรมันเป็น "dh" ตามเสียงเดิมในหลายภาษาของอินเดีย ซึ่งเป็นเสียงก้อง เสียดแทรก อักษร ธ นั้นส่วนใหญ่พบในคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต เช่น ธวัช ธนู มัธยม หรือคำทับศัพท์ภาษายุโรปที่ใช้อักษร th ดังนั้นบางคนจึงนิยมใช้ ธ ถอดเสียง th ในคำศัพท์ที่มาจากภาษาอังกฤษ เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่าง t และ th ธ เพียงตัวเดียว สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ อ่านว่า ทะ แปลว่า "ท่าน" เป็นคำสรรพนาม หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและธ
ถ
(ถุง) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 22 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ต (เต่า) และก่อนหน้า ท (ทหาร) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ถ ถุง” อักษร ถ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /tʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/.
ดู มาตราและถ
ท
ท (ทหาร) เป็นพยัญชนะตัวที่ 23 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ถ (ถุง) และก่อนหน้า ธ (ธง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ท ทหาร” อักษร ท เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /tʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและท
ฑ
ฑ (มณโฑ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 17 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฐ (ฐาน) และก่อนหน้า ฒ (ผู้เฒ่า) ออกเสียงอย่าง ท (ทหาร) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฑ มณโฑ” (บางคนก็เรียกว่า ฑ นางมณโฑ) อักษร ฑ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /tʰ/ หรือ /d/ (ดูหัวข้อถัดไป) และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ฑ อยู่น้อยคำ ได้แก่ ฑังส, ฑาก, ฑาหก, ฑาหะ นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต.
ดู มาตราและฑ
ฒ
ฒ (ผู้เฒ่า) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 18 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฑ (มณโฑ) และก่อนหน้า ณ (เณร) ออกเสียงอย่าง ท (ทหาร) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฒ ผู้เฒ่า” อักษร ฒ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /tʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ฒ อยู่คำเดียวคือ เฒ่า นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและฒ
ข
(ไข่) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 2 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ก (ไก่) และก่อนหน้า ฃ (ขวด) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ข ไข่” อักษร ข เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /kʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /k̚/.
ดู มาตราและข
ณ
ณ (เณร) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 19 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฒ (ผู้เฒ่า) และก่อนหน้า ด (เด็ก) ออกเสียงอย่าง น (หนู) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ณ เณร” อักษร ณ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /n/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ณ อยู่น้อยคำ ได้แก่ ณ (ที่), ณรงค์ (ตัดมาจาก รณรงค์), เณร, เณรหน้าไฟ, เณรหางนาค นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและณ
ด
(เด็ก) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 20 จากพยัญชนะทั้งหมด 44 ตัวในอักษรไทย อยู่ในลำดับถัดจาก ณ (เณร) และก่อนหน้า ต (เต่า) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรกลางในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ด เด็ก” ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด อักษร ด เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /d/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /d/ หรือ /ð/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด เช่น the เดอะ,.
ดู มาตราและด
ค
(ควาย) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 4 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฃ (ขวด) และก่อนหน้า ฅ (คน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ค ควาย” อักษร ค เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /kʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /k̚/.
ดู มาตราและค
ฆ
(ระฆัง) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 6 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฅ (คน) และก่อนหน้า ง (งู) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ ออกเสียงอย่าง ค (ควาย) มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฆ ระฆัง” อักษร ฆ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /kʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /k̚/ ฆ มักไม่ถูกใช้เป็นอักษรสำหรับหัวข้อลำดับ เช่นว่า ก..
ดู มาตราและฆ
ง
ง (งู) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 7 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฆ (ระฆัง) และก่อนหน้า จ (จาน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ง งู” อักษร ง เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /ŋ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /ŋ/.
ดู มาตราและง
ต
ต (เต่า) เป็นพยัญชนะตัวที่ 21 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ด (เด็ก) และก่อนหน้า ถ (ถุง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรกลาง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ต เต่า” อักษร ต เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและต
ฉ
ฉ (ฉิ่ง) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 9 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก จ (จาน) และก่อนหน้า ช (ช้าง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฉ ฉิ่ง” อักษร ฉ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t͡ɕʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ (ในทางทฤษฎี) ฉ เพียงตัวเดียว สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ อ่านว่า ฉอ, ฉ้อ, ฉะ แปลว่า "หก" เป็นปัจจัยประกอบคำบาลี หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและฉ
ซ
ซ (โซ่) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 11 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ช (ช้าง) และก่อนหน้า ฌ (เฌอ) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ซ โซ่” อักษร ซ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /s/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /s/ หรือ /z/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและซ
ป
ป (ปลา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 27 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก บ (ใบไม้) และก่อนหน้า ผ (ผึ้ง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรกลาง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ป ปลา” อักษร ป เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /p/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและป
น
น (หนู) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 25 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ธ (ธง) และก่อนหน้า บ (ใบไม้) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “น หนู” อักษร น เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /n/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู มาตราและน