โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์

ดัชนี มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์

มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ (University of Exeter) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร ปัจจุบันมีพื้นที่ทำการเรียนการสอน และทำการวิจัยรวมทั้งสิ้น 3 วิทยาเขต ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเอ็กซิเตอร์ มณฑลเดวอน จำนวน 2 วิทยาเขต และในมณฑลคอร์นวอลล์ 1 วิทยาเขต มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ได้รับตำแหน่ง มหาวิทยาลัยแห่งปี จากไทมส์ไฮเออร์เอ็ดดูเคชัน ในปีค.ศ. 2007 และ เดอะซันเดย์ไทมส์ ในปีค.ศ. 2013 และได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรอยู่ในอันดับที่ 7 จาก เดอะไทมส์ และ เดอะซันเดย์ไทมส์ (2015) และอันดับที่ 10 โดย เดอะการ์ดเดียน (2013) และ เดอะคอมพลีทยูนิเวอร์ซิตีไกด์ (2014) อีกทั้งยังได้รับการจัดอันดับให้อยู่ภายในสิบอันดับแรกมาตลอด ของการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชาติ ตั้งแต่มีการเริ่มทำการสำรวจในปี ค.ศ. 2005 มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์เป็นสมาชิกของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มของมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ชั้นนำของสหราชอาณาจักร รวมถึงกลุ่ม Universities UK สมาคมมหาวิทยาลัยแห่งยุโรป(EUA) สมาคมมหาวิทยาลัยแห่งเครือจักรภพ(ACU) และเป็นสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสมาคม MBAs(AMBA).

56 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2383พ.ศ. 2394พ.ศ. 2398พ.ศ. 2406พ.ศ. 2411พ.ศ. 2431พ.ศ. 2436พ.ศ. 2443พ.ศ. 2465พ.ศ. 2498พ.ศ. 2521พ.ศ. 2536พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2กลุ่มรัสเซลมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มุขมณฑลรัฐชาร์จาห์รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบวิล ยังวิทยาเขตศตวรรษที่ 19สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปนสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปนสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์สหราชอาณาจักรสถาบันอุดมศึกษาของรัฐอินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโกทอม ยอร์กคอร์นวอลล์ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุมซารา ฟิลลิปส์ซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมีประธานาธิบดีประเทศอังกฤษประเทศตุรกีปีเตอร์ ฟิลลิปส์นิทรรศการครั้งยิ่งใหญ่แฮร์รี่ พอตเตอร์เบสเมนต์แจกซ์เรดิโอเฮดเอ็กซิเตอร์เจ. เค. โรว์ลิงเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ...เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีเทศมณฑลของอังกฤษเดวอนเซาท์เวสต์อิงแลนด์2 พฤษภาคม ขยายดัชนี (6 มากกว่า) »

พ.ศ. 2383

ทธศักราช 2383 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1840.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2383 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2394

ทธศักราช 2394 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1851 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2394 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2398

ทธศักราช 2398 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1855.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2398 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2406

ทธศักราช 2406 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1863.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2406 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2431

ทธศักราช 2431 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1888 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2431 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2443 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2

ระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Diamond Jubilee of Queen Elizabeth II) เป็นการเฉลิมฉลองระหว่างประเทศตลอ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และพระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มรัสเซล

กลุ่มรัสเซล (Russell Group) เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ในสหราชอาณาจักร 18 มหาวิทยาลัยจากสมาชิก 19 แห่ง ติด 20 อันดับแรกของประเทศในด้านงบวิจัย กลุ่มรัสเซลมีมหาวิทยาลัยอันดับต้น ๆ ของสหราชอาณาจักรอยู่เป็นจำนวนมาก ผู้คนมักเปรียบเทียบกลุ่มรัสเซลของสหราชอาณาจักรกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบที่ไม่ค่อยจะสมเหตุผลเท่าไรนัก เนื่องจากสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำในสหรัฐอเมริกานั้น ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากเอกชน (ยกเว้นมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ที่มีบางสาขาได้รับการสนับสนุนจากรัฐ) จึงไม่มีความจำเป็นต้องจัดตั้งกลุ่มล็อบบี้วิ่งเต้น อย่างมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรซึ่งทุกแห่งรับงบประมาณรัฐ (ยกเว้นเพียงแห่งเดียวคือ มหาวิทยาลัยบักกิงแฮม ที่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนเต็มรูปแบบ) จุดประสงค์ของกลุ่มรัสเซลคือ เป็นกระบอกเสียงของสมาชิก (โดยเฉพาะการวิ่งเต้นล็อบบี้รัฐบาลและรัฐสภา) และจัดทำรายงานเพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องต่าง ๆ ประเด็นสนใจของกลุ่มได้แก่ ความต้องการเป็นผู้นำในการวิจัยของสหราชอาณาจักร เพิ่มรายรับให้มากที่สุด ดึงพนักงานและนักเรียนที่ดีที่สุด ลดการแทรกแซงจากรัฐบาล และใช้ประโยชน์จากความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยให้มากที.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และกลุ่มรัสเซล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

มุขมณฑล

มุขมณฑลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 139 (diocese) คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกเรียกว่า สังฆมณฑล ในประเทศไทยกรมการศาสนาเรียกว่า เขตมิสซังกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 เป็นเขตการปกครองของคริสตจักรซึ่งมีมุขนายกเป็นประมุข แต่ละมุขมณฑลจะแบ่งออกเป็นเขตแพริช ในกรณีที่เป็นมุขมณฑลขนาดใหญ่และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มากกว่ามุขมณฑลอื่นที่อยู่รอบ ๆ มุขมณฑลนั้นจะถูกยกสถานะขึ้นเป็นอัครมุขมณฑล โดยมีอัครมุขนายกเป็นประมุข อัครมุขนายกมีสถานะเป็นมุขนายกมหานคร มีอำนาจสูงกว่ามุขนายกปริมุขมณฑลซึ่งเป็นมุขนายกประจำมุขมณฑลอื่น ๆ ในภาคคริสตจักรเดียวกัน โครงสร้างการปกครองคริสตจักรแบบนี้เรียกว่า การจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล มุขมณฑลยังอาจหมายถึง เขตมุขนายก (bishopric) หรือ อิปิสโคปัลซี (Episcopal see) แต่คำว่าอิปิสโคปัลซีมักใช้หมายถึงอาณาเขตที่ปกครองโดยบิชอป ขณะที่ bishopric อาจหมายถึงตำแหน่งบิชอปก็ได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และมุขมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาร์จาห์

ชาร์จาห์ (Sharjah) หรือ อัชชาริเกาะฮ์ (الشارقة) เป็นหนึ่งในรัฐ (emirate) ทั้งเจ็ดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ครอบคลุมพื้นที่ 2,600 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 800,000 คน มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองชาร์จาห์ รัฐชาร์จาห์ปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตย ประมุของค์ปัจจุบันคือ เชคซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี ช.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และรัฐชาร์จาห์ · ดูเพิ่มเติม »

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ · ดูเพิ่มเติม »

วิล ยัง

วิลเลี่ยม โรเบิร์ต ยัง (William Robert Young) เกิดเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1979 เป็นนักร้องและนักแสดงชาวอังกฤษ โดยเริ่มมีชื่อเสียงจากการประกวด Pop Idol ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และวิล ยัง · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาเขต

วิทยาเขต (campus) เป็นสถานที่ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยจัดตั้งขึ้นเพื่อจัดการศึกษา ซึ่งอาจจะประกอบด้วยห้องสมุด หอพัก อาคารต่าง ๆ ในรูปแบบเช่นเดียวกันกับมหาวิทยาลัย "วิทยาเขต" ถูกใช้เรียกครั้งแรกโดยวิทยาลัยนิวเจอร์ซีย์ (มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในปัจจุบัน) ในช่วงทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 18 ต่อมามหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกา จึงได้นำคำว่า วิทยาเขต มาเรียกชื่อสถานที่จัดการศึกษานอกที่ตั้งของมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย โดยระบบการจัดการบริหารแบบวิทยาเขตอาจแบ่งเป็นสองแบบตามความหมายภาษาอังกฤษอันได่แก่ University System (วิทยาเขตแบ่งแยกออกจากกันเปรียบเสมือนคนละมหาวิทยาลัยและใช้ชุดบริหารและทรัพยากรแยกกันเพียงแต่ใช้ชื่อร่วมกันเท่านั้น เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน กำแพงแสน เป็นต้น) และ Multiple-Campus University (วิทยาเขตแบ่งแยกโดยสถานที่โดยยังอยู่ภายใต้การบริหารงานของ 1 มหาวิทยาลัย - สมาชิกในวิทยาเขตทุกวิทยาใช้ทรัพยากรร่วมกันกับส่วนกลางและมีการแบ่งปันกันภายในมหาวิทยาลัยและไม่แบ่งแยก เพียงแต่สถานที่ไม่ได้อยู่ด้วยกันเท่านั้น เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และวิทยาเขต · ดูเพิ่มเติม »

ศตวรรษที่ 19

ตวรรษที่ 19 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และศตวรรษที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฆวน การ์โลสที่ 1 (Juan Carlos I; เสด็จพระราชสมภพ 5 มกราคม พ.ศ. 2481) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ฟรันซิสโก ฟรังโก ผู้เผด็จการสเปน กำหนดให้สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 เป็นประมุขแห่งรัฐองค์ถัดมาใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน

มเด็จพระราชินีโซเฟีย (la Reina Doña Sofía) เป็นพระมเหสีใน สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 สมเด็จพระราชินีโซเฟียทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งกรีซโดยพระกำเนิด เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าปัฟโลสแห่งกรีซ และ สมเด็จพระราชินีเฟรเดริกาแห่งกรีซ โดยทีมีพระนามในภาษากรีกว่า โซเฟีย มาร์การีตา วิกตอเรีย เฟรเดรีกี (Σοφία Μαργαρίτα Βικτωρία Φρειδερίκη) โดยพระองค์มีพระราชอนุชาและพระราชขนิษฐาคือ สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ และ เจ้าหญิงไอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates; الإمارات العربيّة المتّحدة) เป็นประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ริมอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirates) 7 รัฐ ได้แก่ อาบูดาบี อัจมาน ดูไบ ฟูไจราห์ ราสอัลไคมาห์ ชาร์จาห์ และอุมม์อัลไกไวน์ ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) กลุ่มรัฐดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในชื่อ รัฐสงบศึก (Trucial States) หรือ ทรูเชียลโอมาน (Trucial Oman) โดยอ้างอิงตามสัญญาสงบศึกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างอังกฤษกับเชคอาหรับบางพระองค์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีพรมแดนติดกับโอมาน ซาอุดีอาระเบีย และกาตาร์ เป็นประเทศหนึ่งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก

อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก (Infanta Elena, Duquesa de Lugo; ประสูติ: 20 ธันวาคม พ.ศ. 2506) หรือพระนามเต็มว่า เอเลนา มารีอา อีซาเบล โดมีนีกา เด ซีโลส เด บอร์บอน อี เกรเซีย (Elena María Isabel Dominica de Silos de Borbón y Grecia) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน ทั้งเป็นพระเชษฐภคินีในอินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกา และสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 อินฟันตาเอเลนา เสกสมรสและหย่ากับไคเม เด มารีชาลาร์ มีพระบุตรด้วยกันสองคน ทั้งนี้พระองค์อยู่ในลำดับที่ 3 ของการสืบราชบัลลังก์ของสเปน และทรงประกอบพระกรณียกิจในต่างประเทศในฐานะตัวแทนของพระราชวง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และอินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก · ดูเพิ่มเติม »

ทอม ยอร์ก

ทอมัส เอ็ดเวิร์ด "ทอม" ยอร์ก (Thomas Edward "Thom" Yorke) เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และทอม ยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

คอร์นวอลล์

อร์นวอลล์ (Cornwall) หรือ แคร์นอว์ (Kernow) เป็นเทศมณฑลแห่งหนึ่งของประเทศอังกฤษภายในสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางปลายแหลมด้านตะวันตกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร ทางด้านเหนือและด้านตะวันตกจรดทะเลเคลติก ทางด้านใต้จรดช่องแคบอังกฤษ ด้านตะวันออกติดกับเทศมณฑลเดวอนโดยมีแม่น้ำเทมาร์เป็นเส้นแบ่งเขต คอร์นวอลล์มีประชากรรวมทั้งสิ้นประมาณ 526,300 คน ในเนื้อที่ 3,563 ตารางกิโลเมตร ศูนย์กลางการปกครองตั้งอยู่ที่เมืองทรูโร ดินแดนบริเวณคอร์นวอลล์เดิมเป็นที่ตั้งหลักแหล่งของชนยุคหินจากนั้นก็เป็นชนยุคสำริดและต่อมาในสมัยยุคเหล็กโดยชาวเคลต์ คอร์นวอลล์เป็นส่วนหนึ่งของบริเวณที่พูดภาษากลุ่มบริทอนิก (Brythonic languages) ที่ตัดขาดจากกลุ่มชนที่พูดภาษากลุ่มเดียวกันในเวลส์หลังจากยุทธการเดอรัม (Battle of Deorham) โดยมักขัดแย้งกับชาวแซกซันแห่งราชอาณาจักรเวสเซกซ์ที่พยายามขยายดินแดนเข้ามา ก่อนที่พระเจ้าแอเทลสตันจะกำหนดเขตแดนระหว่างชาวอังกฤษกับชาวคอร์นิชโดยใช้แม่น้ำทามาร์ คอร์นวอลล์รวมกับอังกฤษเมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่การใช้ภาษาคอร์นิชยังคงใช้กันต่อมาจนคริสต์ศตวรรษที่ 18 การฟื้นฟูการใช้ภาษาคอร์นิชอีกครั้งมาเริ่มต้นขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษ 20 และเพิ่มความนิยมมากขึ้นในคริสต์ทศวรรษที่ผ่านมา ในปัจจุบันคอร์นวอลล์ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเนื่องจากอุตสาหกรรมเหมืองดีบุกและอุตสาหกรรมการประมงเสื่อมโทรมลงและต้องหันมาพึ่งพาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นหลัก ดินแดนคอร์นวอลล์มีชื่อในทางที่มีภูมิทัศน์เป็นดินแดนสูงที่เป็นทุ่งที่มีแต่พืชพรรณเตี้ย ๆ เติบโตอยู่ที่เรียกว่า "ทุ่งมัวร์" (Moorland) และชายฝั่งทะเลที่น่าดูและอากาศที่อุ่นกว่าบริเวณอื่นของอังกฤษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของ พันตำรวจเอกวิจิตร และนางเกื้อกูล อภัยวงศ์ จบการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนราชินี และต่อในระดับปริญญาที่ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากเรียนจบได้รับการทาบทามให้เป็นอาจารย์ประจำที่คณะ หนึ่งปีต่อมาไปศึกษาเพิ่มเติมทางด้านศิลปะการละคร (MA in Theatre Practice) ในระดับมหาบัณฑิต ที่ มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นนักเรียนชาวเอเชีย เพียงคนเดียวที่ได้รับการตอบรับให้เข้าเรียนในสาขานี้ ซึ่งเปิดสอนนักศึกษาเพียงแค่ 5 คนในปีนั้น จากนั้นกลับมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำ ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นอาจารย์พิเศษในปัจจุบัน ตรีดาวเคยเป็นพิธีกรในรายการ "เรียงร้อย ถ้อยไทย" ซึ่งเป็นรายการเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง ซึ่งเป็นรายการสั้น ๆ ช่วงหัวค่ำวันธรรมดา ทางช่อง 3 อยู่พักหนึ่ง ชีวิตครอบครัว สมรสกับ พงษ์ สุขุม บุตรชายคนโตของ ปราโมทย์ สุขุม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์กับคุณหญิงกัญญา หงส์ลดารมภ์ ไปเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม · ดูเพิ่มเติม »

ซารา ฟิลลิปส์

ซารา ฟิลลิปส์ (สกุลเดิม: Phillips; เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) พระธิดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี กับกัปตันมาร์ก ฟิลิปส์ รัชทายาทลำดับที่ 11 ของอังกฤษ ราชวงศ์วินด์เซอร์ สหราชอาณาจักร และเครือจักรภพ มีพี่ชายคือ ปีเตอร์ ฟิลลิปส์ ซารา ฟิลลิปส์สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ และได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 3 ของบรรดาราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก ของเว็บไซต์ฟอร์บส์ดอตคอม ต่อจากเจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวลส์ และเจ้าชายเฮนรีแห่งเวลส์ ซึ่งเป็นพระประยูรญาติร่วมราชวง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และซารา ฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี

ซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี (سلطان بن محمد القاسمي) ทรงเป็นเจ้าผู้ครองรัฐชาร์จาห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ องค์ปัจจุบัน และทรงเป็นสมาชิกสภาสูงสุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ด้วย ประสูติเมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 พระองค์เป็นพระราชโอรสของมุฮัมมัด บิน ซักร์ บิน คอลิด อัลกอซิมี และมัรยัม บินต์ ฆอนิม บิน ซะลีม อัชชัมซี พระองค์ขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2515 ต่อจากอะซีซ บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี พระเชษฐา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2482 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยไคโร หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ หมวดหมู่:ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดี

ประธานาธิบดี (president) คือตำแหน่งประมุขหรือผู้นำของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ ซึ่งประธานาธิบดีจะได้รับตำแหน่งจากการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันมีหลายประเทศที่มีประธานาธิบดีเป็นประม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และประธานาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ ฟิลลิปส์

ปีเตอร์ ฟิลลิปส์ เป็นโอรสคนโตในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี กับนายมาร์ก ฟิลลิปส์ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และปีเตอร์ ฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

นิทรรศการครั้งยิ่งใหญ่

ทางเข้านิทรรศการในคริสตัลพาเลซ นิทรรศการครั้งยิ่งใหญ่ (The Great Exhibition) เป็นงานนิทรรศการสิ่งประดิษฐ์และอุตสาหกรรมจากทั่วโลก นิทรรศการนี้จัดในปี พ.ศ. 2394 ในสมัยสมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย โดยเจ้าชายอัลเบิรต์พระสวามีของพระราชินีนาถวิกตอเรีย เป็นต้นคิดงานนิทรรศการนี้ขึ้นมา นิทรรศการ จัดขึ้นในคริสตัลพาเลซ ที่ไฮด์ปาร์ค ลอนดอน การก่อสร้างใช้เวลา 15 เดือน งานในครั้งนี้ทำให้ประเทศอังกฤษได้รับงบประมาณถึง 186,000 ปอนด์สเตอร์ลิง และมีผู้เข้าชมไม่ต่ำกว่าหกล้านคน นิทรรศการ จัดขึ้นในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม นิทรรศการสิ่งประดิษฐ์และอุตสาหกรรม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และนิทรรศการครั้งยิ่งใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบสเมนต์แจกซ์

มนต์แจกซ์ (Basement Jaxx) เป็นดูโอแนวเพลงยูเคเฮาส์ ประกอบด้วยสมาชิก เฟลิกซ์ บักซ์ตันและไซมอน แรตคลิฟฟ์ มีชื่อเสียงในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ผลงานอัลบั้มชุดแรก Remedy มีซิงเกิ้ลดังอย่าง "Red Alert" และ "Rendez Vu" ซึ่งเพลงหลังติดชาร์ตยูเคซิงเกิ้ลส์ชาร์ต ที่อันดับ 4 ซึ่งถือเป็นซิงเกิ้ลอันดับสูงสุดของวง อัลบั้มถัดมา Rooty ออกในปี 2001 มีซิงเกิ้ลในอัลบั้มนี้อย่าง "Romeo", "Jus 1 Kiss", "Where's Your Head At?", "Do Your Thing" และ "Get Me Off" ต่อมาในปี 2003 ออกผลงานชุด Kish Kash หลังจากนั้นในปี 2005 มีอัลบั้มรวมเพลงชุด The Singles ติดอันดับ 1 บนยูเคอัลบั้มส์ชาร์ต ต่อมาออกผลงานอัลบั้มชุดที่ 4 ชื่อชุด Crazy Itch Radio (2006) และในปี 2009 ออกผลงานชุด Scars.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเบสเมนต์แจกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรดิโอเฮด

รดิโอเฮด (Radiohead) เป็นวงดนตรีแนวออลเทอร์นาทิฟจากอังกฤษ ก่อตั้งวงที่อ๊อกซ์ฟอร์ดเชอร์ ประกอบด้วยสมาชิก ทอม ยอร์ก (ร้องนำ, กีตาร์ริทึ่ม, เปียโน, อีเลกโทรนิกส์), จอนนี กรีนวูด (กีตาร์ลีด, เครื่องดนตรีอื่น) เอ็ด โอ'บรีน (กีตาร์ ร้องประสาน),โคลิน กรีนวูด (กีตาร์เบส เครื่องสังเคราะห์เสียง) และ ฟิล เซลเวย์ (กลอง เพอร์คัชชัน) เรดิโอเฮดออกอัลบั้มมาแล้ว 7 ชุด และมียอดขาย 23 ล้านชุด เรดิโอเฮดออกซิงเกิ้ลแรก "Creep" ในปี 1992 และอัลบั้มแรก Pablo Honey ในปี 1993 ถึงแม้จะไม่ประสบความสำเร็จตั้งแต่ช่วงแรก แต่ "Creep" ก็สามารถสร้างความนิยมในเวลาต่อมาในการขายใหม่ในปีถัดมา ความนิยมของเรดิโอเฮดในสหราชอาณาจักรเพิ่มขึ้นหลังจากออกผลงานชุดที่ 2 The Bends (1995) วงได้รับเสียงวิจารณ์ในทางที่ดีและจากแฟนเพลง และผลงานชุด OK Computer (1997) เรดิโอเฮดก็ยิ่งมีชื่อเสียงไปทั่วโลก การออกอัลบั้ม Kid A (2000) และ Amnesiac (2001) เป็นจุดสูงสุดของวง ถึงแม้คำวิจารณ์จะถูกแบ่งออกไปเรื่องเกี่ยวกับแนวเพลงที่เปลี่ยนไป เป็นดนตรีในแนวทดลอง หลังจากนั้นเรดิโอเฮดออกจากสังกัดเพลงอีเอ็มไอ และออกผลงานอัลบั้มชุดที่ 7 In Rainbows (2007) ผ่านทางเว็บไซต์ให้ดาวน์โหล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเรดิโอเฮด · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซิเตอร์

อ็กซิเตอร์ (Exeter) เป็นนครและเมืองเอกของมณฑลเดวอนทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ จากการสำรวจในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเอ็กซิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเจ. เค. โรว์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ

้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระนามเดิม เจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก; พระราชสมภพ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นชาวกรีก โดยกำเนิด มีตำแหน่งเจ้าชายแห่งกรีซและแห่งเดนมาร์ก ปัจจุบันมียศเป็นดยุกแห่งเอดินบะระ มีพระนามเดิมว่า เรือเอก ฟิลิป เมาท์แบตเตน เข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธ เมื่อปี พ.ศ. 2490.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี

้าชาย ฟรันซ์ อัลแบร์ท เอากุสตุส คาร์ล เอ็มมานูเอล แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Franz Albert August Karl Emanuel von Sachsen-Coburg-Saalfeld) หรือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (Albert, Prince Consort) เป็นเจ้าชายเยอรมันซึ่งสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ทรงเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร จึงทำให้พระองค์ดำรงพระยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" อย่างเป็นทางการเพียงพระองค์เดียว ภายหลังจากการสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี

้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี (The Princess Anne, Princess Royal; แอนน์ เอลิซาเบธ อลิซ หลุยส์ ประสูติ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ และเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงดำรงพระอิสริยยศ ราชกุมารี เป็นพระองค์ที่เจ็ด และปัจจุบันทรงอยู่อันดับที่สิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อแรกประสูติ พระองค์ทรงอยู่อันดับที่สาม และขึ้นเป็นอันดับที่สองในการเสวยราชสมบัติของพระชนนี จนกระทั่งถึงการประสูติของเจ้าชายแอนดรูว์ ในปี พ.ศ. 2503 พระราชกุมารีทรงเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีจากการบำเพ็ญพระราชกรณียกิจการกุศลนานาประการ และทรงเป็นสมาชิกของพระราชวงศ์พระองค์เดียวที่ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลของอังกฤษ

มณฑลการปกครองของอังกฤษ เป็นการแบ่งการเขตการปกครองหนึ่งในระดับการปกครองท้องถิ่นของอังกฤษเพื่อใช้ในทางการบริหาร, ทางการเมือง และในการแบ่งเขตการปกครองทางภูมิศาสตร์ มณฑลในปัจจุบันมีรากฐานมาจากการแบ่งเขตการปกครองของระบบการปกครองในประวัติศาสตร์เช่นในสมัยแองโกล-แซ็กซอน คำว่ามณฑลที่ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า “County” ซึ่งมาจากบริเวณเขตการปกครองของขุนนางระดับเคานท์ แต่ในอังกฤษตำแหน่ง “เคานท์” เท่ากับตำแหน่ง เอิร์ล ของแซ็กซอนโบราณ แต่ภรรยาของเอิร์ลยังคงมีตำแหน่งเป็น “เคานเทส” ชื่อ, เขตแดน และลักษณะการบริหารของเขตการปกครองของมณฑลเปลี่ยนแปลงไปมากจากที่เป็นมาในอดีตกาล และการปฏิรูปเขตการปกครองต่างๆ ที่เกิดเริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมาทำให้ความหมายคำว่า “มณฑล” ที่ใช้กันในอังกฤษค่อนข้างจะสับสนและกำกวม ฉะนั้นคำว่า “มณฑลของอังกฤษ” โดยทั่วไปจึงมิได้หมายถึงหน่วยเขตการปกครองที่แจ่มแจ้งเช่นในความหมายอย่างเป็นทางการของคำว่า “มณฑล” ตามที่เข้าใจกัน เช่นในการใช้คำว่า “มณฑล” สำหรับกรณีอื่นๆ นอกไปจากการบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่นเช่น มณฑลภูมิศาสตร์ (Ceremonial counties), มณฑลลงทะเบียน (Registration county), มณฑลในประวัติศาสตร์ (Historic counties) หรือมณฑลไปรษณีย์ (Postal counties) เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเทศมณฑลของอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เดวอน

วอน (ภาษาอังกฤษ: Devon) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่มีเนื้อที่มากที่สุดที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร เดวอนบางครั้งก็เรียกว่า “เดวอนเชอร์” แต่เป็นชื่อที่ไม่เป็นทางการ เดวอนมีเขตแดนติดกับมณฑลคอร์นวอลล์ทางตะวันตกและมณฑลดอร์เซ็ทกับมณฑลซอมเมอร์เซ็ททางตะวันออก ชายฝั่งทะเลด้านใต้เป็น ช่องแคบอังกฤษทางด้านเหนือเป็นช่องแคบบริสตอลซึ่งทำให้เป็นมณฑลเดียวในอังกฤษที่มีชายฝั่งทะเลสองด้านที่แยกกัน เดวอนมีหน่วยรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวสองหน่วย: เมืองท่าพลิมัธและทอร์เบย์ที่เป็นกลุ่มบริเวณที่ท่องเที่ยวชายทะเลนอกไปจากเทศบาลการปกครองของมณฑลเดวอนเอง พลิมัธเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุด ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นชนบทรวมทั้งบริเวณอุทยานแห่งชาติ เดวอนมีประชากรมากเป็นลำดับสามของบรรดามณฑลต่างๆ โดยมีประชากรทั้งหมด 1,109,900 คน โดยมีประชากรถัวเฉลี่ย 365 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตรซึ่งเป็นบริเวณที่มีประชาชนเบาบางเมื่อเทียบกับจำนวนเฉลี่ยในบริเวณอื่น เดวอนแบ่งการปกครองเป็นสิบแขวง: เอ็กซิเตอร์, อีสต์เดวอน, มิดเดวอน, นอร์ธเดวอน, ทอร์ริดจ์, เวสต์เดวอน, เซาท์แธมส, เทนบริดจ์, พลิมัธ และทอร์เบย์ โดยมีเมืองมณฑลอยู่ที่ เอ็กซิเตอร์ เดวอนเป็นที่ตั้งของชายฝั่งทะเลมรดกโลกที่เป็นที่เรียกว่าฝั่งทะลเจอราสิค (Jurassic Coast) ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาและลักษณะทางภูมิศาสตร์ เดวอนและคอร์วอลล์เป็นที่รู้จักันในชื่อ “Cornubian massif” ซึ่งเป็นลักษณะธรณีวิทยาที่ทำให้เกิดภูมิทัศน์ของดาร์ทมัวร์ และเอ็กซมัวร์ที่เป็นอุทยานแห่งชาติ เดวอนมีเมืองท่องเที่ยวทางชายทะเลและมีเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายเมือง และมีอากาศที่ไม่รุนแรงซึ่งทำให้เป็นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของมณฑล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเดวอน · ดูเพิ่มเติม »

เซาท์เวสต์อิงแลนด์

ตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: South West England) เป็นหนึ่งในเก้าของภาคการปกครองของอังกฤษและโดยเนื้อที่แล้วเป็นบริเวณที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเก้าบริเวณที่มีบริเวณตั้งแต่กลอสเตอร์เชอร์และวิลท์เชอร์ไปจนถึงคอร์นวอลล์และไอล์สออฟซิลลิย์ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ครอบคลุมบริเวณที่เรียกว่าเวสต์คันทรี (West Country) และเวสเซ็กซ์ ภาคตะวันตกเฉียงใต้มีเนื้อที่ 23,829 ตารางกิโลเมตร โดยมีประชากรทั้งหมดประมาณ 4,928,458 คนและมีความหนาแน่นของประชากรเป็นจำนวน 207 ต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร บริเวณนี้มีชื่อเสียงในการผลิตเนยแข็งชนิดที่เรียกกันว่าเช็ดดาร์ (Cheddar cheese) ที่เริ่มทำกันที่หมู่บ้านเช็ดดาร์, เดวอนมีชื่อเสียงในเรื่อง “Cream tea” ซึ่งเป็นการดื่มชานมกับการกิน “สโคน” (คล้ายมัฟฟินแต่ไม่หวาน) กับครีมข้น (clotted cream) และแยมผลไม้ และในเรื่องไซเดอร์ (Cider) ซึ่งเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ทำจากหมักน้ำแอ็ปเปิล (ต่างจากไซเดอร์บางชนิดในสหรัฐอเมริกาที่ไม่มีแอลกอฮอล์) นอกจากนั้นก็ยังเป็นที่ตั้งของโครงการหมู่อาคารสำหรับพฤกษชาติอีเด็น, อาร์ดแมนแอนิเมชันส (Aardman Animations), งานเทศกาลกลาสตันบรี, และงานแสดงบอลลูนนานาชาติประจำปีที่บริสตอล และสถานที่ท่องเที่ยวและชายหาดในคอร์วอลล์ อุทยานแห่งชาติสองแห่งและมรดกโลกสี่แห่งก็ตั้งอยู่ในภาคนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และเซาท์เวสต์อิงแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์และ2 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »