โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษามนองใต้

ดัชนี ภาษามนองใต้

ษามนองใต้ (Mnong, Southern) มีผู้พูดในเวียดนาม 30,000 คน (พ.ศ. 2545) ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดบิญฟวก อยู่ทางใต้ของบริเวณที่มีผู้พูดภาษามนองกลางและอยู่ทางเหนือของบริเวณที่มีผู้พูดภาษาสเตียง จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก เขียนด้วยอักษรเขมร.

4 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาบะห์นาริกกลุ่มภาษามอญ-เขมรภาษามนองกลางอักษรเขมร

กลุ่มภาษาบะห์นาริก

กลุ่มภาษาบะห์นาริก (Bahnaric Languages) เป็นภาษาในกลุ่มมอญ-เขมร ตระกูลออสโตรเอเชียติก แบ่งเป็น 5 กลุ่มย่อย คือ.

ใหม่!!: ภาษามนองใต้และกลุ่มภาษาบะห์นาริก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามอญ-เขมร

กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับกลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ ตามการแบ่งของ Diffloth ที่เขียนไว้ใน Encyclopedia Britannica เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษามนองใต้และกลุ่มภาษามอญ-เขมร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามนองกลาง

ษามนองกลาง (Central Mnong) หรือภาษาบูดัง มีผู้พูด ทั้งหมด 52,500 คน พบในเวียดนาม32,500 คน (พ.ศ. 2545) พบในกัมพูชา 20,000 คน (พ.ศ. 2545) ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดมณฑลคีรี ส่วนน้อยที่พูดภาษาเขมรได้ด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก เขียนด้วยอักษรเขมรและอักษรโรมัน มีรายการวิทยุที่ออกอากาศด้วยภาษานี้ในเวียดนาม.

ใหม่!!: ภาษามนองใต้และภาษามนองกลาง · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเขมร

ตัวอย่างอักษรเขมรสองแบบ อักษรเขมร (អក្សរខ្មែរ)​ ​คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1100-1200) อีกต่อหนึ่ง อักษรปัลลวะนี้ เป็นอักษรที่มาจากอินเดียตอนใต้ ซึ่งเป็นชุดอักษรที่มีกำเนิดมาจากอักษรพราหมี ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ราว พุทธศตวรรษที่ 3) จารึกอักษรเขมรเก่าสุด พบที่ปราสาทโบเร็.ตาแก้ว ทางใต้ของพนมเปญ อายุราว..

ใหม่!!: ภาษามนองใต้และอักษรเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »