โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิ

ดัชนี ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิ

ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิ (15 มีนาคม 1640 - 13 มีนาคม 1707) ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในช่วงปลาย ยุคเฮอัง เป็นบุตรชายคนโตของ คัมปะกุ ฟุจิวะระ โนะ ทะดะซะเนะ และเป็นหนึ่งในสมาชิกของ ตระกูลฟุจิวะระ ตระกูลที่ทรงอำนาจมากที่สุดในราชสำนักขณะนั้น ในสงคราม กบฏปีโฮเง็ง เมื่อ..

8 ความสัมพันธ์: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะซะเนะฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะกบฏปีโฮเง็งยุคเฮอังจักรพรรดิซุโตะกุจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะตระกูลฟูจิวาระเซ็สโซและคัมปะกุ

ฟุจิวะระ โนะ ทะดะซะเนะ

ฟุจิวะระ โนะ ทะดะซะเนะ (Fujiwara no Tadazane, 1078 – 31 กรกฎาคม 1162) ชนชั้นสูงและขุนนางชาวญี่ปุ่นจาก ตระกูลฟุจิวะระ เป็นบุตรชายของ ฟุจิวะระ โนะ โมะโระมิชิ และเป็นหลานปู่ของ ฟุจิวะระ โนะ โมะโระซะเน.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิและฟุจิวะระ โนะ ทะดะซะเนะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ

ฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ (พฤษภาคม 1663 – 1 สิงหาคม 1699) ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในช่วงปลาย ยุคเฮอัง ในตำแหน่ง อุไดจิง หรือ มหาเสนาบดีฝ่ายขวา และเป็นหนึ่งในสมาชิกของ ตระกูลฟุจิวะระ ตระกูลที่ทรงอำนาจมากที่สุดในราชสำนักขณะนั้น โยะรินะงะเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิและฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏปีโฮเง็ง

กบฏปีโฮเง็ง (Hōgen Rebellion;; 28 กรกฎาคม – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1156) เป็นสงครามกลางเมือง ช่วงสั้น ๆ ที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งเรื่องสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะกับอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ หลังจากเสร็จสิ้นสงครามที่ยาวนานถึง 20 วันปรากฎว่าฝ่ายอดีตจักรพรรดิซุโตะกุเป็นฝ่ายพ่ายแพ้โยะรินะงะตายในที่รบส่วนทะเมะโยะชิและทะดะมะซะถูกประหารชีวิตทางด้านทะเมะโตะโมะบุตรชายของทะเมะโยะชิและน้องชายของโยะชิโตะโมะหนีรอดไปได้ส่วนอดีตจักรพรรดิและเชื้อพระวงศ์ถูกเนรเทศไปจังหวัดคะงะวะ และสวรรคตที่นั่น และจากสงครามครั้งนี้ทำให้โยะชิโตะโมะได้ก้าวขึ้นมาเป็นประมุขคนใหม่ของตระกูลมินะโมะโตะสายเซวะเก็นจิและทำให้ตระกูลไทระและมินะโมะโตะก้าวขึ้นมาเป็นตระกูลที่มีอำนาจในเฮอัง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิและกบฏปีโฮเง็ง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิและยุคเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซุโตะกุ

นหลวงของจักรพรรดิซุโตะกุ จักรพรรดิซุโตะกุ (Emperor Sutoku,, 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1119 - 14 กันยายน ค.ศ. 1164) จักรพรรดิองค์ที่ 75 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่าง ค.ศ. 1123 - ค.ศ. 1142.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิและจักรพรรดิซุโตะกุ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ

ักรพรรดิชิระกะวะพระอัยกาธิราชของจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ สมเด็จพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์ที่ 77 ครองราชย์ในช่วงปี..

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิและจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลฟูจิวาระ

ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิและตระกูลฟูจิวาระ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิและเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »