โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟีโอโครโมไซโตมา

ดัชนี ฟีโอโครโมไซโตมา

ฟีโอโครโมไซโตมา (pheochromocytoma) เป็นเนื้องอกประสาทต่อมไร้ท่อ (neuroendocrine tumor) ของต่อมหมวกไตส่วนใน เจริญมาจากเซลล์โครมาฟิน (chromaffin cell) หรือเนื้อเยื่อโครมัฟฟินนอกต่อมหมวกไตที่ไม่ได้ย้ายที่มาตอนเกิด และหลั่งสารคาเตโคลามีน (catecholamine) จำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นอะดรีนาลีนหากเนื้องอกอยู่ในต่อมหมวกไต และนอร์อะดรีนาลีน พาราแกงกลิโอมา (paraganglioma) นอกต่อมหมวกไต (บางครั้งเรียกว่าฟีโอโครโมไซโตมานอกต่อมหมวกไต) เป็นเนื้องอกที่มีความใกล้เคียงกันแต่พบน้อยกว่ามาก ซึ่งเจริญมาจากปมประสาทของระบบประสาทซิมพาเทติก จะตั้งชื่อตามตำแหน่งทางกายวิภาคที่เก.

4 ความสัมพันธ์: ระบบประสาทซิมพาเทติกต่อมหมวกไตนิวโรบลาสโตมาเอพิเนฟรีน

ระบบประสาทซิมพาเทติก

ระบบประสาทอัตโนมัติสีน้ำเงิน.

ใหม่!!: ฟีโอโครโมไซโตมาและระบบประสาทซิมพาเทติก · ดูเพิ่มเติม »

ต่อมหมวกไต

ต่อมหมวกไต อยู่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง ต่อมหมวกไต (adrenal gland,suprarenal gland) เป็นต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ผลิตฮอร์โมนสำคัญๆหลายชนิด เช่น อะดรีนาลิน จะอยู่เหนือไตทั้ง2ข้าง มีหน้าที่ควบคุมการไหลเวียนของโลหิตและการหดตัวของเลือด ต่อมหมวกไตแบ่งได้เป็นสองส่วนคือ.

ใหม่!!: ฟีโอโครโมไซโตมาและต่อมหมวกไต · ดูเพิ่มเติม »

นิวโรบลาสโตมา

นิวโรบลาสโตมาเป็นมะเร็งอย่างหนึ่งที่เจริญจากเซลล์ของนิวรัลเครสท์ในระบบประสาทซิมพาเทติก ถือเป็นเนื้องอกของระบบประสาทและต่อมไร้ท่อมักพบเกิดขึ้นในต่อมหมวกไต แต่ก็อาจเกิดขึ้นได้ในเนื้อเยื่อประสาทในคอ อก ท้อง และอุ้งเชิงกราน ถือเป็นมะเร็งชนิดก้อนนอกกะโหลกศีรษะที่พบบ่อยที่สุดในวัยเด็ก และเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในวัยทารก หมวดหมู่:เนื้องอกของต่อมไร้ท่อ หมวดหมู่:เนื้องอกของสมอง หมวดหมู่:การเจริญในผิวหนังและชั้นใต้ผิวหนัง หมวดหมู่:มะเร็งที่พบน้อย หมวดหมู่:เนื้องอกชนิดเซลล์กลมสีน้ำเงินขนาดเล็ก.

ใหม่!!: ฟีโอโครโมไซโตมาและนิวโรบลาสโตมา · ดูเพิ่มเติม »

เอพิเนฟรีน

อพิเนฟรีน (Epinephrine) หรือ อะดรีนาลีน (Adrenaline) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสภาว่า ฮอร์โมนเนื้อในต่อมหมวกไต เป็นฮอร์โมนและสารสื่อประสาทชนิดหนึ่ง เอพิเนฟรีนและนอร์เอพิเนฟรีนเป็นฮอร์โมนต่างชนิดแต่คล้ายกัน ซึ่งทั้งคู่หลั่งออกมาจากส่วนในของต่อมหมวกไต นอกจากนี้ ทั้งสองยังผลิตที่ปลายเส้นใยประสาทซิมพาเทติก โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางเคมีสำหรับถ่ายทอดพลักผลักดันประสาทไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน (effector organ) การสืบค้นทางเภสัชวิทยาของเอพิเนฟรีนมีส่วนสำคัญทำให้เกิดความเข้าใจระบบประสาทอิสระและหน้าที่ของระบบซิมพาเทติก เอพิเนฟรีนยังเป็นยาที่มีประโยชน์สำหรับข้อบ่งใช้ฉุกเฉินหลายประการ แม้มีฤทธิ์ไม่จำเพาะต่อตัวรับอะดรีเนอจิก (adrenergic receptor) และมีการพัฒนายาจำเพาะหลายชนิดซึ่งออกฤทธิ์ต่อแบบชนิดย่อยของตัวรับอะดรีเนอจิกในเวลาต่อมา ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "อะดรีนาลีน" ใช้หมายความถึง การปลุกฤทธิ์ระบบซิมพาเทติกซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานและการเร้าการสนองสู้หรือหนี อิทธิพลของอะดรีนาลีนจำกัดอยู่ในผลทางเมแทบอลิซึมและการขยายหลอดลมต่ออวัยวะซึ่งไม่มีประสาทซิมพาเทติกไปเลี้ยงโดยตรง ในทางเคมี เอพิเนฟรีนเป็นโมโนเอมีนกลุ่มหนึ่ง เรียก แคทีโคลามีน (catecholamine) ผลิตในบางเซลล์ประสาทของระบบประสาทส่วนกลาง และในเซลล์โครมัฟฟิน (chromaffin cell) ของต่อมหมวกไตส่วนในจากกรดอะมิโน ฟีนิลอะลานีนและไทโรซีน.

ใหม่!!: ฟีโอโครโมไซโตมาและเอพิเนฟรีน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Pheochromocytoma

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »