โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การแจกแจงความน่าจะเป็น

ดัชนี การแจกแจงความน่าจะเป็น

ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ การแจกแจงความน่าจะเป็นกำหนดความน่าจะเป็นให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็นการแจกแจงประเภท, การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มวิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วยฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น, และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วยฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้เมเชอร์ความน่าจะเป็นที่เจาะจงน้อยกว.

13 ความสัมพันธ์: การแจกแจงอเนกนามการแจกแจงความน่าจะเป็นการแจกแจงปรกติการแจกแจงแบบทวินามการแจกแจงแบบทวินามนิเสธการแจกแจงแบบเบอร์นูลีการแจกแจงแบบเรขาคณิตการแจกแจงไคกำลังสองการแจกแจงเอกรูป (วิยุต)การแจกแจงเอกรูป (ต่อเนื่อง)การแจกแจงเอ็กโพเนนเชียลความน่าจะเป็นตัวแปรสุ่ม

การแจกแจงอเนกนาม

ถ้าในการทดลองใดๆที่มีลักษณะคล้ายกับการทดลองทวินาม คือเป็นการทดลองซ้ำๆกันหลายครั้ง โดยการทดลองแต่ละครั้งเป็นอิสระกัน คือมีความน่าจะเป็นของการเกิดความสำเร็จในการทดลองแต่ละครั้งคงที่ แต่การทดลองแต่ละครั้งนั้นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีได้มากกว่า 2 ทาง เช่น การสุ่มหยิบสินค้าจากกล่องมาครั้งละ 1 ชิ้น โดยหยิบมา 5 ครั้งแบบใส่คืน ถ้าสินค้าในกล่องแบ่งเป็น 3 เกรดคือ สินค้าดี สินค้ามีตำหนิ และสินค้าเสีย นั่นคือผลที่เกิดขึ้นจากการสุ่มหยิบแต่ละครั้งมีได้ 3 ทาง การทดลองเช่นนี้จะเรียกว่าการทดลองแบบอเนกนาม โดยมีฟังก์ชันความน่าจะเป็นดังนี้ โดยที่ และ และมีค่าคาดหวังและความแปรปรวนดังนี้ หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น หมวดหมู่:แฟคทอเรียลและหัวข้อเรื่องทวินาม.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงอเนกนาม · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงความน่าจะเป็น

ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ การแจกแจงความน่าจะเป็นกำหนดความน่าจะเป็นให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็นการแจกแจงประเภท, การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มวิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วยฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น, และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วยฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้เมเชอร์ความน่าจะเป็นที่เจาะจงน้อยกว.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงความน่าจะเป็น · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงปรกติ

ำหรับทฤษฎีความน่าจะเป็น การแจกแจงปรกติ (normal distribution) เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นของค่าของตัวแปรสุ่มที่เป็นค่าแบบต่อเนื่อง โดยที่ค่าของตัวแปรสุ่มมีแนวโน้มที่จะมีค่าอยู่ใกล้ ๆ กับค่า ๆ หนึ่ง (เรียกว่าค่ามัชฌิม) กราฟแสดงค่าฟังก์ชันความหนาแน่น (probability density function) จะเป็นรูปคล้ายระฆังคว่ำ หรือเรียกว่า Gaussian function โดยค่าฟังก์ชันความหนาแน่นของการแจกแจงปรกติ ได้แก่ โดย "x" แทนตัวแปรสุ่ม พารามิเตอร์ μ แสดงค่ามัชฌิม และ σ 2 คือค่าความแปรปรวน (variance) ซึ่งเป็นค่าที่ใช้บอกปริมาณการกระจายของการแจกแจง การแจกแจงปรกติที่มีค่า และ จะถูกเรียกว่า การแจกแจงปรกติมาตรฐาน การแจกแจงปรกติเป็นการแจกแจงที่เด่นที่สุดในทางวิชาความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ ซึ่งก็มาจากหลาย ๆ เหตุผล ซึ่งก็รวมถึงผลจากทฤษฎีบทขีดจํากัดกลาง (central limit theorem) ที่กล่าวว่า ภายใต้สภาพทั่ว ๆ ไปแล้ว ค่าเฉลี่ยจากการสุ่มค่าของตัวแปรสุ่มอิสระจากการแจกแจงใด ๆ (ที่มีค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวนจำกัด) ถ้าจำนวนการสุ่มนั้นใหญ่พอ แล้วค่าเฉลี่ยนั้นจะมีการแจกแจงประมาณได้เป็นการแจกแจงปรกต.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงปรกติ · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงแบบทวินาม

ตัวแปรเชิงสุ่ม X แทนจำนวนครั้งของความสำเร็จจากการทดลองแบบเบอร์นูลีซ้ำๆกัน n ครั้ง ภายใต้สภาวะเดียวกันและการทดลองแต่ละครั้งเป็นอิสระต่อกัน การทดลองแต่ละครั้งต้องแบ่งผลลัพธ์ออกได้ 2 ทาง คือความสำเร็จและความไม่สำเร็จ โดย p คือความน่าจะเป็นที่เกิดความสำเร็จ X จะมีการแจกแจงแบบทวินาม ซึ่งฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็น ดังนี้ และมีค่าคาดหวังและค่าความแปรปรวนดังนี้ ฟังก์ชันความน่าจะเป็นสะสมคือ หมวดหมู่:แฟคทอเรียลและหัวข้อเรื่องทวินาม หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงแบบทวินาม · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงแบบทวินามนิเสธ

้าตัวแปรเชิงสุ่ม X แทนจำนวนครั้งที่ต้องการทำการทดลองแบบเบอร์นูลีซ้ำๆกัน โดยแต่ละครั้งเป็นอิสระกันจนกว่าจะได้จำนวนครั้งของความสำเร็จ โดยมีหลักการพิจารณาคือ.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงแบบทวินามนิเสธ · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงแบบเบอร์นูลี

ป็นการแจกแจงของตัวแปรเชิงสุ่มที่มีผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ 2 ทาง คือ ความสำเร็จและความไม่สำเร็จ มีกับไม่มี เป็นสมาชิกกับไม่เป็นสมาชิก ชายกับหญิง เป็นต้น ซึ่งตัวแปรเชิงสุ่ม X แทนผลลัพธ์จากการทดลอง 2 ทางนี้ โดยกำหนดให้ X.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงแบบเบอร์นูลี · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงแบบเรขาคณิต

X เป็นตัวแปรเชิงสุ่มแทนจำนวนครั้งที่ต้องการทำการทดลองแบบเบอร์นูลีซ้ำๆกัน โดยที่แต่ละครั้งเป็นอิสระกัน จนกว่าจะได้ความสำเร็จเป็นครั้งแรก โดย p คือความน่าจะเป็นที่ได้รับความสำเร็จ X จะมีการแจกแจงแบบเรขาคณิต โดยมีฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นดังนี้ และมีค่าคาดหวังและความแปรปรวนดังนี้ การแจกแจงแบบเรขาคณิต เป็นการแจกแจงแบบพิเศษของการแจกแจงแบบทวินามนิเสธที่ k.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงแบบเรขาคณิต · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงไคกำลังสอง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงไคกำลังสอง · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงเอกรูป (วิยุต)

ในทฤษฎีความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ การแจกแจงเอกรูปวิยุต เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นอย่างเป็นระบบโดยที่น่าจะสังเกตค่าจำนวนจำกัดได้เท่า ๆ กัน ทุกค่าจำนวน n มีความน่าจะเป็นเท่ากัน 1/n หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงเอกรูป (วิยุต) · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงเอกรูป (ต่อเนื่อง)

ตัวแปรเชิงสุ่ม X มีค่าอยู่ในช่วงใดช่วงหนึ่งหรืออยู่ในเซตของช่วงใดช่วงหนึ่งด้วยความน่าจะเป็นเท่ากันเสมอ ซึ่งอยู่ในช่วงของเลขจำนวนจริง 2 จำนวนคือ a และ b โดยที่ aX คงที่จาก a ถึง b แล้ว X จะมีฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นดังนี้ และมีค่าคาดหวังและค่าความแปรปรวนดังนี้ หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงเอกรูป (ต่อเนื่อง) · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงเอ็กโพเนนเชียล

การแจกแจงเอ็กโพเนนเชียลเป็นการแจกแจงที่มีความสัมพันธ์กับการแจกแจงปัวซง เนื่องจากการแจกแจงแบบเอ็กโพเนนเชียลจะเป็นการแจกแจงของระยะเวลาที่รอคอยจนกว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่สนใจขึ้นเป็นครั้งแรก โดยจำนวนครั้งของเหตุการณ์ที่สนใจที่เกิดขึ้นนั้นมีการแจกแจงปัวซง เช่น จำนวนลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการในเวลา 1 ชั่วโมงมีการแจกแจงแบบปัวซง เวลาห่างระหว่างลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการก็จะมีการแจกแจงเอ็กโพเนนเชียล การนับเวลาติดต่อกันไปเรื่อยๆจนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ปัวซงขึ้น ถ้า X เป็นเวลาที่นับติดต่อกันนี้ X จะเป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบเอ็กโพเนนเชียล ซึ่งมีฟังก์ชันความน่าจะเป็นดังนี้ และมีค่าคาดหวังและค่าความแปรปรวนดังนี้ การคำนวณค่าความน่าจะเป็นจะอาศัยความน่าจะเป็นสะสม หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงเอ็กโพเนนเชียล · ดูเพิ่มเติม »

ความน่าจะเป็น

วามน่าจะเป็น คือการวัดหรือการประมาณความเป็นไปได้ว่า บางสิ่งบางอย่างจะเกิดขึ้นหรือถ้อยแถลงหนึ่ง ๆ จะเป็นจริงมากเท่าใด ความน่าจะเป็นมีค่าตั้งแต่ 0 (โอกาส 0% หรือ จะไม่เกิดขึ้น) ไปจนถึง 1 (โอกาส 100% หรือ จะเกิดขึ้น) ระดับของความน่าจะเป็นที่สูงขึ้น คือความเป็นไปได้มากขึ้นที่เหตุการณ์นั้นจะเกิด หรือถ้ามองจากเงื่อนเวลาของการสุ่มตัวอย่าง คือจำนวนครั้งมากขึ้นที่เหตุการณ์เช่นนั้นคาดหวังว่าจะเกิด มโนทัศน์เหล่านี้มาจากการแปลงคณิตศาสตร์เชิงสัจพจน์ในทฤษฎีความน่าจะเป็น ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในขอบเขตการศึกษาต่าง ๆ เช่น คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ การเงิน การพนัน วิทยาศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์/การเรียนรู้ของเครื่อง และปรัชญา เพื่อร่างข้อสรุปเกี่ยวกับความถี่ที่คาดหวังของเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นอาทิ ทฤษฎีความน่าจะเป็นก็ยังนำมาใช้เพื่ออธิบายกลไกรากฐานและความสม่ำเสมอของระบบซับซ้อน.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและความน่าจะเป็น · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแปรสุ่ม

สำหรับทฤษฎีความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ ตัวแปรสุ่ม (random variable) หมายถึง ตัวแปรที่ค่าของมันวัดได้จากกระบวนการสุ่มหรือกระบวนการที่มีความไม่แน่นอนอยู่ ตัวแปรสุ่มจะเป็นฟังก์ชันที่แปลงเหตุการณ์หรือผล (เช่น ผลลัพธ์ของการทอยลูกเต๋า)ไปเป็นจำนวนจริง (เช่น 1, 2, 3,..., 6) ค่าที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่มจะแทนผลที่เป็นไปได้ของการทดลองที่ยังไม่ได้ทำหรือค่าของปริมาณที่ค่าจริงนั้นไม่แน่นอน (เช่น ผลของข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ หรือการวัดที่ไม่เที่ยงตรง) หรืออาจมองได้ว่า ตัวแปรสุ่มก็คือปริมาณที่ค่าของมันไม่ถูกเจาะจงไว้ หรือไม่ได้รู้แน่ๆ แต่อาจเป็นได้หลายๆค่า โดยที่การแจกแจงความน่าจะเป็นจะใช้ในการอธิบายถึงโอกาสที่ค่าต่างๆของตัวแปรสุ่มจะเป็นไปได้ หมวดหมู่:ทฤษฎีความน่าจะเป็น หมวดหมู่:การสุ่ม หมวดหมู่:ทฤษฎีทางสถิติ.

ใหม่!!: การแจกแจงความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Probability distributionฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »