เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฟอร์ด มอนดิโอ

ดัชนี ฟอร์ด มอนดิโอ

ฟอร์ด มอนดิโอ (Ford Mondeo) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ผลิตโดยบริษัทฟอร์ดมอเตอร์ เริ่มผลิตตั้งแต่ พ.ศ. 2535 และมีจำหน่ายอยู่ทั่วโลก โดยมาแทนที่รถยนต์นั่งขนาดกลางรุ่นเก่า ฟอร์ด เซียรา (Ford Sierra) ซึ่งเลิกผลิตในปี พ.ศ.

สารบัญ

  1. 33 ความสัมพันธ์: ฟอร์ดมอเตอร์พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2550พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556ภาษาละตินมาสด้า คาเพลลามาสด้า โครโนสมิตซูบิชิ กาแลนต์รถเก๋งสหรัฐฮอนด้า แอคคอร์ดฮุนได โซนาต้าทวีปยุโรปทวีปเอเชียซูบารุ เลกาซีซูซูกิ คิซาชิประเภทของรถยนต์ประเทศบราซิลประเทศไทยประเทศเม็กซิโกนิสสัน เทียน่านิสสัน เซฟิโร่โลกโตโยต้า คัมรี่โตโยต้า โคโรน่า

ฟอร์ดมอเตอร์

ฟอร์ด โฟกัส ฟอร์ด มอเตอร์ (Ford Motor Company) หรือเรียกย่อว่า ฟอร์ด บริษัทผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลกตั้งอยู่ที่รัฐมิชิแกน ก่อตั้งโดยเฮนรี ฟอร์ด ปัจจุบันเป็นผู้ผลิตรถยนต์อันดับ 2 ของโลก รองจาก เจเนรัลมอเตอร์ ฟอร์ดมอเตอร์เป็นเจ้าของยี่ห้อรถยนต์ต่างๆ ได้แก่ ฟอร์ด, ลิงคอล์น (Lincoln), เมอร์คิวรี (Mercury) และวอลโว่ (เฉพาะในส่วนของรถยนต์เท่านั้น สำหรับยี่ห้อวอลโว่ในส่วนของรถเพื่อการพานิชย์ (รถบรรทุก รถโดยสาร และเครื่องจักรกลหนัก) ยังคงเป็นกิจการของทางวอลโว่เอง) แต่ฟอร์ดมอเตอร์ได้ขายวอลโว่ให้กับบริษัท Geely Automobile แล้วในปี 2010 นอกจากนี้ยังเข้าไปถือหุ้นในกิจการของบริษัทรถยนต์ของญี่ปุ่นอย่างมาสด้.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและฟอร์ดมอเตอร์

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2536

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2537

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2538

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2539

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2540

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2542

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2543

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2550

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและพ.ศ. 2556

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและภาษาละติน

มาสด้า คาเพลลา

มาสด้า คาเพลลา (Mazda Capella) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ที่ผลิตโดย มาสด้า ผู้ผลิตรถยนต์จากประเทศญี่ปุ่น เริ่มการผลิตในปี พ.ศ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและมาสด้า คาเพลลา

มาสด้า โครโนส

มาสด้า โครโนส (Mazda Cronos) เป็นรถยนต์นั่งซีดานขนาดกลาง ที่ผลิตโดย มาสด้า ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2534 - 2538 โดยใช้เครื่องยนต์ 2000 ซีซี มีทั้งตัวถังแบบ 4 ประตูและ 5 ประตู มีทั้งเครื่องยนต์ 4 สูบและวี 6 และใช้ระบบเกียร์ธรรมดา 5 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ซึ่งรถรุ่นนี้พัฒนามาจากมาสด้า คาเพลลา โดยคู่แข่งสำคัญของโครโนสคือ โตโยต้า โคโรน่า นิสสัน เซฟิโร่ ฮอนด้า แอคคอร์ด และ มิตซูบิชิ กาแลนต์ ในประเทศไทย เคยนำมาขายในช่วงเวลาหลังจากที่เปิดตัวในญี่ปุ่นได้ 1 ปี โดยมีทั้งรุ่น 4 ประตูและ 5 ประตู ซึ่งก็ได้รับความนิยมมากพอสมควร แต่ก็เงียบไป โดยเป็นรถยนต์นำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น หลังจากที่ยุติการผลิตโครโนสทั่วโลกแล้ว ทั้งในญี่ปุ่น ประเทศไทยและทั่วโลก ก็ได้นำมาสด้า คาเพลลามาผลิตขายต่อก่อนที่คาเพลลาจะเลิกผลิตในปี พ.ศ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและมาสด้า โครโนส

มิตซูบิชิ กาแลนต์

มิตซูบิชิ กาแลนต์ (Mitsubishi Galant) เป็นรถยนต์ขนาดครอบครัว ผลิตโดย มิตซูบิชิ มอเตอร์ส ตั้งแต่ พ.ศ. 2512 ถึง พ.ศ. 2555 โดยแบ่งวิวัฒนาการออกเป็น 9 เจเนอเรชัน(โฉม) โดยกาแลนต์โฉมที่ 1-7 จัดเป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็ก (Compact Car) แต่กาแลนต์โฉมที่ 8 เป็นต้นมา จัดเป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-size Car) และเมื่อพิจารณาแล้ว กาแลนต์ ถือเป็นรถรุ่นที่เทียบได้ใกล้เคียงกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด และ โตโยต้า คัมรี่ มาก มิตซูบิชิ กาแลนต์ได้เคยนำมาขายในประเทศไทยในช่วงหนึ่งโดยบริษัทมิตซูบิชิ มอเตอร์ส ประเทศไทย โดยเป็นรถขนาดใกล้เคียงกับโตโยต้า โคโรน่า,ฮอนด้า แอคคอร์ด,นิสสัน เซฟิโร่ และมาสด้า 626 เริ่มจำหน่ายตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและมิตซูบิชิ กาแลนต์

รถเก๋ง

รถเก๋ง (sedan หรือ saloon) เป็นรถยนต์ชนิดหนึ่งสำหรับนั่งส่วนบุคคล มีเครื่องยนต์อยู่หน้ารถ หลังรถมีกระโปรงเก็บของ มีที่นั่งสำหรับผู้โดยสาร 4 ที่นั่งหรือมากกว่า โดยอาจมีประตู 4 หรือ 2 แห่ง หลังคารถเป็นส่วนหนึ่งของตัวรถ ไม่สามารถถอดออกหรือเปิดประทุนได้ ฮอนด้า แอคคอร์ด ตัวอย่างรถเก๋ง หมวดหมู่:รถเก๋ง.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและรถเก๋ง

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและสหรัฐ

ฮอนด้า แอคคอร์ด

อนด้า แอคคอร์ด (Honda Accord) เป็นรถซีดานขนาดกลางที่ผลิตและพัฒนาโดยบริษัทฮอนด้า ได้เริ่มต้นสายการผลิตในปี พ.ศ. 2519 ในประเทศญี่ปุ่น โดยเครื่องที่ออกมาตัวแรกคือเครื่อง 1600 ซีซี ซึ่งนับเป็นรถขนาดกลาง โดยรูปทรงที่ออกมามีลักษณะใกล้เคียงกับ ฮอนด้า ซีวิคในรุ่นเดียวกัน ในช่วงที่แอคคอร์ดถูกออกแบบมาใหม่ๆ แอคคอร์ดนั้นถูกกำหนดให้ใช้เครื่องยนต์ 6 สูบโดยเฉพาะ ซึ่งกำหนดให้สภาพเครื่องยนต์แตกต่างจากซีวิค แต่เนื่องจากเหตุการณ์วิกฤติเศรษฐกิจ และภาวะน้ำมันแพงในระยะต่อมา ทางฮอนด้าได้มีการปรับเปลี่ยนระบบต่างๆ รวมทั้งเครื่องยนต์ โดยได้ปรับปรุงและพัฒนาออกมาเป็น 2 รุ่นหลักอย่างที่เห็นในปัจจุบัน คือ รุ่นที่ใช้เครื่องยนต์ 4 สูบ และรุ่นที่ใช้เครื่องยนต์ 6 สูบ แต่นับจากรุ่นที่สิบ ฮอนด้าแอคคอร์ดจะไม่ใช้เครื่องยนต์ 6 สูบอีกต่อไปและจะใช้เครื่องยนต์ 2 ลิตรเทอร์โบทำตลาดแทน นอกจากแบ่งตามขนาดแล้ว ยังแบ่งตามลักษณะของเกียร์เหมือนรถยนต์ทั่วๆ ไป คือ เกียร์ธรรมดา และเกียร์อัตโนมัติ ฮอนด้า แอคคอร์ด โฉมที่ 1-4 จัดอยู่ในประเภทรถยนต์ขนาดเล็ก, โฉมที่ 5-9 จัดอยู่ในประเภทรถยนต์ขนาดกลาง (ยกเว้นโฉมที่ 8 เฉพาะตัวถังแบบ Sedan ที่มีมูนรูฟ จัดอยู่ในประเภทรถยนต์ขนาดใหญ่).

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและฮอนด้า แอคคอร์ด

ฮุนได โซนาต้า

นได โซนาต้า (Hyundai Sonata) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ผลิตโดยฮุนได เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2528 เพื่อทดแทนรุ่นเก่า ฮุนได สเทลลา (Hyundai Stella) โดยปัจจุบัน ฮุนได โซนาต้า มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 6 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและฮุนได โซนาต้า

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและทวีปยุโรป

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและทวีปเอเชีย

ซูบารุ เลกาซี

ซูบารุ เลกาซี (Subaru Legacy) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง และเป็นรถธง ของค่ายรถยนต์ซูบารุ จากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเดิมนั้น ซูบารุออกแบบให้เลกาซีเป็นรถยนต์ขนาดกลางทั่วๆ ไป เพื่อต้องการแข่งขันกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด และ โตโยต้า คัมรี่ แต่ต่อมาได้มีการออกแบบเลกาซีรุ่นพิเศษ โดยที่จะเน้นสมรรถนะให้สูงกว่ารถยนต์ขนาดกลางรุ่นอื่นๆ เช่น ระบบขับเคลื่อน 4 ล้อ เครื่องยนต์เทอร์โบ บ็อกเซอร์สูบนอน ฯลฯ ปรากฏว่า เลกาซีรุ่นพิเศษนั้น ถูกนำไปเปรียบเทียบว่ามีความใกล้เคียงกับรถยนต์นั่งประเภทหรูหราระดับต้น หลายรุ่น เช่น เอาดี้ เอ4, อัลฟา โรเมโอ 159 และ บีเอ็มดับเบิลยู 3 ซีรีส์ ในเรื่องต่างๆ ดังนั้น การออกแบบเลกาซีทำให้ซูบารุได้รับการยอมรับและชื่นชมอย่างกว้างขวาง เมื่อซูบารุนำพื้นฐานการออกแบบของเลกาซี ไปออกแบบรถรุ่นใหม่หลายรุ่น เช่น Tribeca และ Outback ก็สามารถประสบความสำเร็จไม่น้อย รวมกับการที่รถรุ่นอื่นๆ ของซูบารุ จะเน้นไปที่การผลิตรถยนต์ขนาดเล็ก ทำให้เลกาซี ได้เป็นรถธง ของซูบารุ ที่ประสบความสำเร็จในวงกว้าง เลกาซี มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากรุ่นแรกถึงปัจจุบัน แบ่งได้ 5 รุ่น ดังนี้.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและซูบารุ เลกาซี

ซูซูกิ คิซาชิ

ซูซูกิ คิซาชิ (Suzuki Kizashi) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ที่ผลิตโดยซูซูกิ เมื่อปี พ.ศ. 2552 ซูซูกิ คิซาชิ เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางรุ่นแรกของซูซูกิที่ซูซูกิพัฒนาด้วยตนเอง เนื่องจากในช่วงก่อนหน้านั้น ซูซูกิ มีรถขนาดกลางอยู่แล้วรุ่นหนึ่ง คือ ซูซูกิ เวโรน่า (Suzuki Verona) ซึ่งเป็นรถที่แลกเปลี่ยนกับแดวู มอเตอร์สผลิตในช่วงปี พ.ศ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและซูซูกิ คิซาชิ

ประเภทของรถยนต์

รถยนต์สามารถจำแนกได้เป็นหลายประเภท ซึ่งมีชื่อเรียกดังต่อไปนี้.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและประเภทของรถยนต์

ประเทศบราซิล

ราซิล (Brazil; Brasil) หรือชื่อทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล (Federal Republic of Brazil; República Federativa do Brasil) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีพื้นที่กว้างขวางระหว่างตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้และ มหาสมุทรแอตแลนติก มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอุรุกวัย อาร์เจนตินา ปารากวัย โบลิเวีย เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา กายอานา ซูรินาม และแคว้นเฟรนช์เกียนาของฝรั่งเศส (ติดกับทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้ ยกเว้นเอกวาดอร์และชิลี) ชื่อ "บราซิล" มาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า บราซิลวูด (Pau-Brasil ในภาษาโปรตุเกส) ซึ่งนำไปใช้ย้อมผ้าด้วยสีแดงจากเปลือกไม้ของมัน บราซิลเป็นดินแดนแห่งเกษตรกรรมและป่าเขตร้อน การที่บราซิลมีทรัพยากรธรรมชาติที่มากมายและมีแรงงานเป็นจำนวนมาก ทำให้เป็นประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ (สูงเป็นอันดับที่ 10 ของโลก) และเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในปัจจุบัน บราซิลใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาทางการ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและประเทศบราซิล

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและประเทศไทย

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและประเทศเม็กซิโก

นิสสัน เทียน่า

นิสสัน เทียน่า เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางของบริษัทนิสสัน เริ่มมีการผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2546 โดยมีชื่ออื่นในการส่งออกเช่น นิสสัน แม็กซิมา และ นิสสัน เซฟิโร่ (เป็นการยืมชื่อมาใช้ เซฟิโร่ตัวจริงเลิกผลิตไปแล้ว เทียน่า เป็นรุ่นต่อของเซฟิโร่ ส่วนแม็กซิมา เป็นรถนิสสันอีกรุ่นหนึ่ง ขายในสหรัฐอเมริกา) ในบางประเทศ นอกจากนี้ เทียน่ายังมีการใช้รูปแบบเดียวกับ นิสสัน อัลติม่า วางขายในทวีปอเมริกาเหนือและญี่ปุ่น.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและนิสสัน เทียน่า

นิสสัน เซฟิโร่

นิสสัน เซฟิโร่ (Nissan Cefiro) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ถูกผลิตโดยนิสสัน มีคุณลักษณะและจุดประสงค์คล้ายคลึง โตโยต้า คัมรี่, ฮอนด้า แอคคอร์ด, มิตซูบิชิ กาแลนต์ และมาสด้า คาเพลลา มีการผลิตระหว่าง พ.ศ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและนิสสัน เซฟิโร่

โลก

"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและโลก

โตโยต้า คัมรี่

ตโยต้า คัมรี่ เป็นรถยนต์ตระกูลที่ได้รับความนิยมสูงเป็นอันดับต้นๆ ของรถโตโยต้า มีลักษณะเป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็ก ในรุ่น V และเป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง ในรุ่น XV ในประเทศไทย คัมรี่ เริ่มเป็นที่รู้จักในประเทศไทยเฉพาะรุ่น XV โดยก่อนหน้านี้ รถครอบครัวรุ่นที่มีชื่อเสียงของโตโยต้า คือ โตโยต้า โคโรน่า แต่เมื่อคัมรี่ XV เข้ามา คัมรี่เริ่มแย่งความนิยมมาจากโคโรน่า จนในที่สุด ก็กลายเป็นรถครอบครัวที่ขึ้นมามีชื่อเสียงแทนโคโรน่า หลังจากนั้นไม่นาน โคโรน่าก็มีอันต้องเลิกผลิตไป ปัจจุบัน คัมรี่เป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด, นิสสัน เทียน่า, ฮุนได โซนาต้า และอื่นๆ ซึ่งเป็นรถยนต์ที่มีขนาดและระดับราคาใกล้เคียงกัน แต่ก่อนที่คัมรี่จะเข้าไทย โตโยต้า โคโรน่า ก็เคยเป็นคู่แข่งของแอคคอร์ดมาก่อน รถตระกูลคัมรี่ กำเนิดโดยการแตกหน่อออกมาจากรถตระกูลเซลิก้า รถตระกูลเซลิก้ากำเนิดขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและโตโยต้า คัมรี่

โตโยต้า โคโรน่า

ตโยต้า โคโรน่า (Toyota Corona) เป็นรถรุ่นหนึ่งที่ โตโยต้า ผลิตขึ้น เพื่อเป็นรถครอบครัว เริ่มผลิตเมื่อ พ.ศ. 2500 ซึ่งในประเทศไทย ครั้งหนึ่ง มันเคยเป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด และ นิสสัน บลูเบิร์ด (รวมไปถึง นิสสัน เซฟิโร่ ในบางช่วง) รวมถึงคู่แข่งอื่นๆ ซึ่งเป็นคู่แข่งระดับรอง เช่น มิตซูบิชิ กาแลนต์,มาสด้า 626,ฮุนได โซนาต้า,ซูบารุ เลกาซี,เปอโยต์ 405,แดวู เอสเปอโร,ฟอร์ด มอนดิโอและซีตรอง BX แต่โคโรน่ามีจุดเสียเปรียบสำคัญเรื่องขนาดที่เล็กกว่าแอคคอร์ดและคู่แข่งอื่นๆ ดังนั้น ใน..

ดู ฟอร์ด มอนดิโอและโตโยต้า โคโรน่า