โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โตโยต้า โคโรน่า

ดัชนี โตโยต้า โคโรน่า

ตโยต้า โคโรน่า (Toyota Corona) เป็นรถรุ่นหนึ่งที่ โตโยต้า ผลิตขึ้น เพื่อเป็นรถครอบครัว เริ่มผลิตเมื่อ พ.ศ. 2500 ซึ่งในประเทศไทย ครั้งหนึ่ง มันเคยเป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด และ นิสสัน บลูเบิร์ด (รวมไปถึง นิสสัน เซฟิโร่ ในบางช่วง) รวมถึงคู่แข่งอื่นๆ ซึ่งเป็นคู่แข่งระดับรอง เช่น มิตซูบิชิ กาแลนต์,มาสด้า 626,ฮุนได โซนาต้า,ซูบารุ เลกาซี,เปอโยต์ 405,แดวู เอสเปอโร,ฟอร์ด มอนดิโอและซีตรอง BX แต่โคโรน่ามีจุดเสียเปรียบสำคัญเรื่องขนาดที่เล็กกว่าแอคคอร์ดและคู่แข่งอื่นๆ ดังนั้น ใน..

37 ความสัมพันธ์: ฟอร์ด มอนดิโอพ.ศ. 2500พ.ศ. 2503พ.ศ. 2507พ.ศ. 2513พ.ศ. 2517พ.ศ. 2521พ.ศ. 2524พ.ศ. 2526พ.ศ. 2529พ.ศ. 2532พ.ศ. 2535พ.ศ. 2539พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2545มาสด้า คาเพลลามิตซูบิชิ กาแลนต์มิตซูบิชิ แลนเซอร์รถเก๋งสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3ฮอนด้า ซีวิคฮอนด้า แอคคอร์ดฮุนได โซนาต้าซูบารุ เลกาซีประเภทของรถยนต์นิสสัน ซันนี่นิสสัน เทียน่านิสสัน เซฟิโร่แดวู เอสเปอโรโตโยต้าโตโยต้า คราวน์โตโยต้า คัมรี่โตโยต้า โคโรลล่าโตโยต้า เซลิก้าเปอโยต์ 40512 กันยายน

ฟอร์ด มอนดิโอ

ฟอร์ด มอนดิโอ (Ford Mondeo) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ผลิตโดยบริษัทฟอร์ดมอเตอร์ เริ่มผลิตตั้งแต่ พ.ศ. 2535 และมีจำหน่ายอยู่ทั่วโลก โดยมาแทนที่รถยนต์นั่งขนาดกลางรุ่นเก่า ฟอร์ด เซียรา (Ford Sierra) ซึ่งเลิกผลิตในปี พ.ศ. 2535 คำว่า "Mondeo" มาจากภาษาละตินที่แปลว่า โลก ฟอร์ด มอนดิโอ เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ผลิตขึ้นสำหรับตลาดยุโรปเท่านั้น แต่เคยมีขายในตลาดเอเชีย รวมถึงประเทศไทย ซึ่งฟอร์ด มอนดิโอเคยมีขายในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2537-2542 แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก ฟอร์ด มอนดิโอ มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 5 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและฟอร์ด มอนดิโอ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

มาสด้า คาเพลลา

มาสด้า คาเพลลา (Mazda Capella) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ที่ผลิตโดย มาสด้า ผู้ผลิตรถยนต์จากประเทศญี่ปุ่น เริ่มการผลิตในปี พ.ศ. 2513 ขายในประเทศญี่ปุ่นภายใต้ชื่อ มาสด้า คาเพลลา และในต่างประเทศ รวมถึงประเทศไทยจะใช้ชื่อที่เป็นตัวเลข (ซึ่งก็ตามปกติที่รถยนต์ของมาสด้าในตลาดโลกหลายรุ่นจะขายโดยใช้ตัวเลข เช่น Demio.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและมาสด้า คาเพลลา · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูบิชิ กาแลนต์

มิตซูบิชิ กาแลนต์ (Mitsubishi Galant) เป็นรถยนต์ขนาดครอบครัว ผลิตโดย มิตซูบิชิ มอเตอร์ส ตั้งแต่ พ.ศ. 2512 ถึง พ.ศ. 2555 โดยแบ่งวิวัฒนาการออกเป็น 9 เจเนอเรชัน(โฉม) โดยกาแลนต์โฉมที่ 1-7 จัดเป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็ก (Compact Car) แต่กาแลนต์โฉมที่ 8 เป็นต้นมา จัดเป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-size Car) และเมื่อพิจารณาแล้ว กาแลนต์ ถือเป็นรถรุ่นที่เทียบได้ใกล้เคียงกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด และ โตโยต้า คัมรี่ มาก มิตซูบิชิ กาแลนต์ได้เคยนำมาขายในประเทศไทยในช่วงหนึ่งโดยบริษัทมิตซูบิชิ มอเตอร์ส ประเทศไทย โดยเป็นรถขนาดใกล้เคียงกับโตโยต้า โคโรน่า,ฮอนด้า แอคคอร์ด,นิสสัน เซฟิโร่ และมาสด้า 626 เริ่มจำหน่ายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 จนถึงยุควิกฤติเศรษฐกิจของประเทศไทยทำให้หลายยี่ห้อซึ่งมีรถขนาดกลางมาทำตลาดต้องเลิกทำตลาดไป เช่น ฟอร์ด มาสด้า รวมถึงมิตซูบิชิเองด้วยโดยไม่มีทีท่าที่จะนำรถประเภทนี้มาขายกันง่ายๆ และยังไม่นับรวมผู้ผลิตรายเล็กๆ ที่นำรถขนาดกลางมาทำตลาดในประเทศไทยแบบ Niche Market ในปัจจุบันเช่น เปอโยต์ ฮุนได สโกด้า ซูบารุ โฟล์กสวาเกน เป็นต้น โดยกาแลนต์โฉมต่าง ๆ มีลักษณะและประวัติโดยสังเขปดังนี้.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและมิตซูบิชิ กาแลนต์ · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูบิชิ แลนเซอร์

มิตซูบิชิ แลนเซอร์ (Mitsubishi Lancer) เป็นรถรุ่นหนึ่ง ผลิตโดย มิตซูบิชิ มอเตอร์ส เป็นรถที่ออกแบบมาเพื่อแข่งขันกับ ฮอนด้า ซีวิค โตโยต้า โคโรลล่า และ นิสสัน ซันนี่ คือ เป็นรถรุ่นที่สามารถนำไปใช้ได้ทั้งการใช้เป็นรถครอบครัวและรถสปอร์ตในคันเดียวกัน เพราะแลนเซอร์,ซีวิค,โคโรลล่าและซันนี่ จะไม่เล็กเกินไปสำหรับผู้ที่ใช้มันเป็นรถครอบครัว แต่ก็จะมีสมรรถนะสูง เล็ก เพรียว กระชับ ไม่ใหญ่เทอะทะเกินไปสำหรับผู้ที่ใช้มันเป็นรถสปอร์ต และมีราคาที่ถูก ดังนั้น รถสี่รุ่นในสี่ยี่ห้อนี้ จึงสามารถพบเห็นได้มากตามท้องถนน มิตซูบิชิ แลนเซอร์ เริ่มผลิตมาตั้งแต่ พ.ศ. 2516 จนถึงปัจจุบัน ผลิตรถออกมาทั้งสิ้น 9 รูปโฉม (Generation) และมียอดขายรวมทั่วโลก กว่า 6 ล้านคัน แลนเซอร์ โฉมที่ 1-7 จัดอยู่ในประเภทรถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก (Subcompact Car) ส่วนโฉมที่ 8 เป็นต้นมา จัดอยู่ในประเภทรถยนต์นั่งขนาดเล็ก (Compact Car).

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและมิตซูบิชิ แลนเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รถเก๋ง

รถเก๋ง (sedan หรือ saloon) เป็นรถยนต์ชนิดหนึ่งสำหรับนั่งส่วนบุคคล มีเครื่องยนต์อยู่หน้ารถ หลังรถมีกระโปรงเก็บของ มีที่นั่งสำหรับผู้โดยสาร 4 ที่นั่งหรือมากกว่า โดยอาจมีประตู 4 หรือ 2 แห่ง หลังคารถเป็นส่วนหนึ่งของตัวรถ ไม่สามารถถอดออกหรือเปิดประทุนได้ ฮอนด้า แอคคอร์ด ตัวอย่างรถเก๋ง หมวดหมู่:รถเก๋ง.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและรถเก๋ง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

ฮอนด้า ซีวิค

อนด้า ซิวิค รถยนต์ที่ผลิตและพัฒนาโดยบริษัทฮอนด้า ซีวิคเปิดตัวครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นเมื่อเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2516 เป็นรถสองประตูขนาดเล็ก โดยมีความจุเครื่องยนต์ 1169 ซีซี และ 1238 ซีซี โดยในปัจจุบันมีการปรับปรุงให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทั้งเครื่องยนต์และความกว้างในห้องผู้โดยสาร (ซีวิครุ่นปัจจุบันที่มีขายในเมืองไทยเป็นเครื่องยนต์ขนาด 1.8 ลิตร และ 1.5 ลิตร เทอร์โบ) นอกจากนี้ซีวิคได้ถูกจัดเป็นรถคุณภาพค่อนข้างดีเนื่องจาก ลักษณะรูปร่างภายนอกและความเชื่อถือได้ของระบบเครื่องยนต์และช่วงล่างพอสมควร.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและฮอนด้า ซีวิค · ดูเพิ่มเติม »

ฮอนด้า แอคคอร์ด

อนด้า แอคคอร์ด (Honda Accord) เป็นรถซีดานขนาดกลางที่ผลิตและพัฒนาโดยบริษัทฮอนด้า ได้เริ่มต้นสายการผลิตในปี พ.ศ. 2519 ในประเทศญี่ปุ่น โดยเครื่องที่ออกมาตัวแรกคือเครื่อง 1600 ซีซี ซึ่งนับเป็นรถขนาดกลาง โดยรูปทรงที่ออกมามีลักษณะใกล้เคียงกับ ฮอนด้า ซีวิคในรุ่นเดียวกัน ในช่วงที่แอคคอร์ดถูกออกแบบมาใหม่ๆ แอคคอร์ดนั้นถูกกำหนดให้ใช้เครื่องยนต์ 6 สูบโดยเฉพาะ ซึ่งกำหนดให้สภาพเครื่องยนต์แตกต่างจากซีวิค แต่เนื่องจากเหตุการณ์วิกฤติเศรษฐกิจ และภาวะน้ำมันแพงในระยะต่อมา ทางฮอนด้าได้มีการปรับเปลี่ยนระบบต่างๆ รวมทั้งเครื่องยนต์ โดยได้ปรับปรุงและพัฒนาออกมาเป็น 2 รุ่นหลักอย่างที่เห็นในปัจจุบัน คือ รุ่นที่ใช้เครื่องยนต์ 4 สูบ และรุ่นที่ใช้เครื่องยนต์ 6 สูบ แต่นับจากรุ่นที่สิบ ฮอนด้าแอคคอร์ดจะไม่ใช้เครื่องยนต์ 6 สูบอีกต่อไปและจะใช้เครื่องยนต์ 2 ลิตรเทอร์โบทำตลาดแทน นอกจากแบ่งตามขนาดแล้ว ยังแบ่งตามลักษณะของเกียร์เหมือนรถยนต์ทั่วๆ ไป คือ เกียร์ธรรมดา และเกียร์อัตโนมัติ ฮอนด้า แอคคอร์ด โฉมที่ 1-4 จัดอยู่ในประเภทรถยนต์ขนาดเล็ก, โฉมที่ 5-9 จัดอยู่ในประเภทรถยนต์ขนาดกลาง (ยกเว้นโฉมที่ 8 เฉพาะตัวถังแบบ Sedan ที่มีมูนรูฟ จัดอยู่ในประเภทรถยนต์ขนาดใหญ่).

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและฮอนด้า แอคคอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฮุนได โซนาต้า

นได โซนาต้า (Hyundai Sonata) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ผลิตโดยฮุนได เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2528 เพื่อทดแทนรุ่นเก่า ฮุนได สเทลลา (Hyundai Stella) โดยปัจจุบัน ฮุนได โซนาต้า มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 6 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและฮุนได โซนาต้า · ดูเพิ่มเติม »

ซูบารุ เลกาซี

ซูบารุ เลกาซี (Subaru Legacy) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง และเป็นรถธง ของค่ายรถยนต์ซูบารุ จากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเดิมนั้น ซูบารุออกแบบให้เลกาซีเป็นรถยนต์ขนาดกลางทั่วๆ ไป เพื่อต้องการแข่งขันกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด และ โตโยต้า คัมรี่ แต่ต่อมาได้มีการออกแบบเลกาซีรุ่นพิเศษ โดยที่จะเน้นสมรรถนะให้สูงกว่ารถยนต์ขนาดกลางรุ่นอื่นๆ เช่น ระบบขับเคลื่อน 4 ล้อ เครื่องยนต์เทอร์โบ บ็อกเซอร์สูบนอน ฯลฯ ปรากฏว่า เลกาซีรุ่นพิเศษนั้น ถูกนำไปเปรียบเทียบว่ามีความใกล้เคียงกับรถยนต์นั่งประเภทหรูหราระดับต้น หลายรุ่น เช่น เอาดี้ เอ4, อัลฟา โรเมโอ 159 และ บีเอ็มดับเบิลยู 3 ซีรีส์ ในเรื่องต่างๆ ดังนั้น การออกแบบเลกาซีทำให้ซูบารุได้รับการยอมรับและชื่นชมอย่างกว้างขวาง เมื่อซูบารุนำพื้นฐานการออกแบบของเลกาซี ไปออกแบบรถรุ่นใหม่หลายรุ่น เช่น Tribeca และ Outback ก็สามารถประสบความสำเร็จไม่น้อย รวมกับการที่รถรุ่นอื่นๆ ของซูบารุ จะเน้นไปที่การผลิตรถยนต์ขนาดเล็ก ทำให้เลกาซี ได้เป็นรถธง ของซูบารุ ที่ประสบความสำเร็จในวงกว้าง เลกาซี มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากรุ่นแรกถึงปัจจุบัน แบ่งได้ 5 รุ่น ดังนี้.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและซูบารุ เลกาซี · ดูเพิ่มเติม »

ประเภทของรถยนต์

รถยนต์สามารถจำแนกได้เป็นหลายประเภท ซึ่งมีชื่อเรียกดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและประเภทของรถยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

นิสสัน ซันนี่

นิสสัน ซันนี่ เป็นรถขนาดเล็กของบริษัทนิสสัน เริ่มการผลิตใน พ.ศ. 2509-2547 และมีนิสสัน ทีด้าและนิสสัน อัลเมร่า เข้ามาทดแทน ในช่วงที่มีการผลิต ซันนี่เป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับ โตโยต้า โคโรลล่า, ฮอนด้า ซีวิค และ มิตซูบิชิ แลนเซอร์ จุดเด่นของ นิสสัน ซันนี่ ตั้งแต่แรกเริ่มจนถึงรุ่นปัจจุบัน คือ การประหยัดน้ำมัน ซันนี่โดยภาพรวมแล้วถือว่าใช้น้ำมันเชื้อเพลิงอย่างคุ้มค่าและประหยัดมากเมื่อเทียบกับคู่แข่งสำคัญทั้ง 3 รุ่น แต่ก็จะเสียเปรียบในเรื่องของอัตราเร่ง ซึ่งซันนี่จะไม่ค่อยเน้นความเป็นรถสปอร์ต เครื่องยนต์มีแรงค่อนข้างน้อย สมรรถนะค่อนข้างต่ำ (เพราะแลกไปกับการประหยัดน้ำมันที่เหนือชั้น) นิสสัน ซันนี่ มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 12 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและนิสสัน ซันนี่ · ดูเพิ่มเติม »

นิสสัน เทียน่า

นิสสัน เทียน่า เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางของบริษัทนิสสัน เริ่มมีการผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2546 โดยมีชื่ออื่นในการส่งออกเช่น นิสสัน แม็กซิมา และ นิสสัน เซฟิโร่ (เป็นการยืมชื่อมาใช้ เซฟิโร่ตัวจริงเลิกผลิตไปแล้ว เทียน่า เป็นรุ่นต่อของเซฟิโร่ ส่วนแม็กซิมา เป็นรถนิสสันอีกรุ่นหนึ่ง ขายในสหรัฐอเมริกา) ในบางประเทศ นอกจากนี้ เทียน่ายังมีการใช้รูปแบบเดียวกับ นิสสัน อัลติม่า วางขายในทวีปอเมริกาเหนือและญี่ปุ่น.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและนิสสัน เทียน่า · ดูเพิ่มเติม »

นิสสัน เซฟิโร่

นิสสัน เซฟิโร่ (Nissan Cefiro) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ถูกผลิตโดยนิสสัน มีคุณลักษณะและจุดประสงค์คล้ายคลึง โตโยต้า คัมรี่, ฮอนด้า แอคคอร์ด, มิตซูบิชิ กาแลนต์ และมาสด้า คาเพลลา มีการผลิตระหว่าง พ.ศ. 2531-2546 เป็นเวลา 15 ปี เดิมทีนั้น เซฟิโร่ถูกออกแบบมาให้เป็นรถยนต์นั่งสำหรับกลุ่มคนทำงานในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น และไม่เน้นการส่งออก แต่กลับได้รับความนิยมจากต่างประเทศมากกว่าในประเทศญี่ปุ่น เซฟิโร่มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 3 Generation (3 โฉม) ก่อนที่นิสสันจะเปลี่ยนชื่อตระกูลเป็น เทียน่า (Teana) ซึ่งยังมีขายอยู่จนถึงในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและนิสสัน เซฟิโร่ · ดูเพิ่มเติม »

แดวู เอสเปอโร

แดวู เอสเปอโร (Daewoo Espero) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ผลิตโดย แดวู เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2533 และเลิกผลิตในปี พ.ศ. 2540 โดยเป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางรุ่นแรกของแดวู มอเตอร์ส ออกแบบโดย Gruppo Bertone ใช้แพลตฟอร์มของ GM ตระกูล GM J platform มีตัวถัง 1 แบบคือซีดาน 4 ประตู ใช้เครื่องยนต์ 1.5,1.8 และ 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ระยะฐานล้อ 2,620 มม.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและแดวู เอสเปอโร · ดูเพิ่มเติม »

โตโยต้า

ตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน เป็นบริษัทผลิตรถยนต์สัญชาติญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองโทะโยะตะ จังหวัดไอชิ ประเทศญี่ปุ่น ในเดือนมีนาคม 2557 โตโยต้ามีพนักงานในเครือบริษัททั่วโลกรวมแล้วกว่า 338,875 คน และในเดือนพฤศจิกายน 2557 ได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 12 บริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลกวัดตามรายได้ และตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา โตโยต้ายังเป็นบริษัทผลิตรถยนต์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก (วัดตามจำนวนคันผลิต) แซงหน้า โฟล์กสวาเกน กรุ๊ป และ เจเนรัลมอเตอร์ ซึ่งในปีนั้นโตโยต้ารายงานว่าได้ผลิตรถยนต์คันที่ 200 ล้าน นับแต่ก่อตั้งบริษัท นอกจากนี้ โตโยต้ายังเป็นบริษัทแรกของโลกที่มีกำลังการผลิตรถยนต์เกิน 10 ล้านคันต่อปี และโตโยต้า ยังเป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดทุนญี่ปุ่นที่ใหญ่และมีรายได้มากที่สุดของญี่ปุ่น ห่างจากอันดับสองคือ SoftBank กว่าสามเท่าตัว โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน ได้รับการก่อตั้งโดย คิอิชิโร โทะโยะดะ ใน..

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและโตโยต้า · ดูเพิ่มเติม »

โตโยต้า คราวน์

ตโยต้า คราวน์ (Toyota Crown) เป็นรถยนต์นั่งประเภทหรูหราขนาดกลางของโตโยต้า พบเห็นได้ทั่วไปตามท้องถนนในประเทศญี่ปุ่น เริ่มต้นนั้นถูกออกแบบมาเพื่อใช้เป็นรถแท็กซี่ ตลอดช่วงการผลิตของคราวน์นั้น เป็นที่ปรากฏเพียงเล็กน้อยที่มีการใช้คราวน์แบบซีดานเป็นแท็กซี่ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 โตโยต้าได้แตกแขนงคราวน์แบบซีดานออกมาสำหรับใช้เป็นรถแท็กซี่โดยเฉพาะ คือ คราวน์ คอมฟอร์ท นอกจากนี้ โตโยต้า คราวน์ยังได้รับการไว้วางใจในกิจการตำรวจทั่วประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย รวมถึงการรับส่งเจ้าหน้าที่รัฐในทุกระดับ ในประเทศญี่ปุ่น จะสามารถหาซื้อโตโยต้าคราวน์ได้เฉพาะช่องทางของตัวแทนจำหน่ายค้าปลีกของโตโยต้าเท่านั้น คราวน์จัดว่าเป็นรถซีดานที่เก่าแก่ที่สุดของโตโยต้าที่ยังอยู่ในสายการผลิต หากเทียบสถานะและเกียรติภูมิของคราวน์ในบรรดารถญี่ปุ่นแล้ว เป็นรองแต่เพียงคราวน์ มาเจสตา และ เซ็นทูรี เท่านั้น โตโยต้า คราวน์ถูกใช้เป็นรถรับรองอย่างแพร่หลายในหลากบริษัทของญี่ปุ่น ในบางประเทศ โตโยต้า คราวน์จัดว่าเป็นรถที่มีราคาแพงมาก ดังนั้นเมื่อโตโยต้า เครสสิด้าได้รับการอนุญาตให้ส่งออกในต้นทศวรรษที่ 1980 คราวน์จึงถูกแทนที่ด้วยรถรุ่นดังกล่าว.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและโตโยต้า คราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

โตโยต้า คัมรี่

ตโยต้า คัมรี่ เป็นรถยนต์ตระกูลที่ได้รับความนิยมสูงเป็นอันดับต้นๆ ของรถโตโยต้า มีลักษณะเป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็ก ในรุ่น V และเป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง ในรุ่น XV ในประเทศไทย คัมรี่ เริ่มเป็นที่รู้จักในประเทศไทยเฉพาะรุ่น XV โดยก่อนหน้านี้ รถครอบครัวรุ่นที่มีชื่อเสียงของโตโยต้า คือ โตโยต้า โคโรน่า แต่เมื่อคัมรี่ XV เข้ามา คัมรี่เริ่มแย่งความนิยมมาจากโคโรน่า จนในที่สุด ก็กลายเป็นรถครอบครัวที่ขึ้นมามีชื่อเสียงแทนโคโรน่า หลังจากนั้นไม่นาน โคโรน่าก็มีอันต้องเลิกผลิตไป ปัจจุบัน คัมรี่เป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด, นิสสัน เทียน่า, ฮุนได โซนาต้า และอื่นๆ ซึ่งเป็นรถยนต์ที่มีขนาดและระดับราคาใกล้เคียงกัน แต่ก่อนที่คัมรี่จะเข้าไทย โตโยต้า โคโรน่า ก็เคยเป็นคู่แข่งของแอคคอร์ดมาก่อน รถตระกูลคัมรี่ กำเนิดโดยการแตกหน่อออกมาจากรถตระกูลเซลิก้า รถตระกูลเซลิก้ากำเนิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2513 ในเวลานั้น เซลิก้าเป็นรถสปอร์ตที่นั่งตอนเดียว ขับเคลื่อนล้อหลัง เปิดประทุนได้ รูปตัวถัง 3 แบบ คือ Hardtop, Liftback และ Coupe เหมาะสำหรับงานแข่งรถ โดยเฉพาะการแข่งแรลลี่ หลังจากนั้น ก็ได้แยกสายการผลิตออกไปเป็นคัมรี่ สาเหตุของการแบ่งคัมรี่ออกเป็นรุ่น V และ XV เนื่องมาจาก ที่ญี่ปุ่น กำหนดเกณฑ์แบ่งขนาดของรถยนต์โดยสารออกเป็น 3 ประเภท คือ.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและโตโยต้า คัมรี่ · ดูเพิ่มเติม »

โตโยต้า โคโรลล่า

ตโยต้า โคโรลล่า (Toyota Corolla) (คำว่า Corolla แปลว่า กลีบดอกไม้) เป็นรถโตโยต้ารุ่นที่ประสบความสำเร็จทั้งด้านการขายและการเป็นที่นิยมมายาวนาน โดยเฉพาะในเมืองไทยรู้จักรถโคโรลล่านี้มาอย่างกว้างขวางและยาวนาน โดยเฉพาะในปัจจุบัน นิยมเอารถโตโยต้า โคโรลล่า อัลติส (Toyota Corolla Altis) มาทำรถแท็กซี่ในเมืองไทย โดยรถโตโยต้า โคโรลล่า จัดอยู่ในระดับรถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก (Subcompact) ในโฉมที่ 1-5 ส่วนโฉมที่ 6 เป็นต้นมา จัดอยู่ในระดับรถยนต์นั่งขนาดเล็ก (Compact) โคโรลล่า เป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับ ฮอนด้า ซีวิค นิสสัน ซันนี่/ทีด้า เชฟโรเลต ออพตร้า และ มิตซูบิชิ แลนเซอร์ ในฐานะที่เป็นรถที่ไม่เล็กเกินไปในการใช้เป็นรถครอบครัว แต่ไม่เทอะทะสำหรับการใช้เป็นรถส่วนตัว ใช้งานได้หลากหลาย รถรุ่นโคโรลล่าเป็นรถที่พบเห็นได้ค่อนข้างมากบนท้องถนนไทยในปัจจุบัน มีวิวัฒนาการตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน แบ่งเป็น 11 รูปโฉม ได้แก.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและโตโยต้า โคโรลล่า · ดูเพิ่มเติม »

โตโยต้า เซลิก้า

ตโยต้า เซลิก้า (Toyota Celica) เป็นรถสปอร์ตของบริษัทโตโยต้าจากประเทศญี่ปุ่น การออกแบบเซลิก้าทั้ง 7 รุ่นที่ผ่านมาผ่านการออกแบบมามากมาย ซึ่งรวมถึงเป็นต้นฉบับของ โตโยต้า เซลิก้า ซูปร้า (ภายหลังใช้ชื่อว่า โตโยต้า ซูปร้า) และโตโยต้า เซลิก้า คัมรี่ (ภายหลังใช้ชื่อว่า โตโยต้า คัมรี่) โดยมีระบบที่โดดเด่นคือ ระบบขับเคลื่อนสี่ล้อ เทอร์โบชาร์จเจอร์ ระบบเปิดประทุน เซลิก้าเป็นที่รู้จักกันดีในการแข่งรถแรลลี คำว่า"เซลิก้า" เป็นภาษาสเปนมีความหมายว่า ท้องฟ้า หรือสวรรค์ สายการผลิตเซลิก้าได้มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในรุ่นปี พ.ศ. 2529 เมื่อมีการเปลี่ยนจากระบบขับเคลื่อนล้อหลังเป็นระบบขับเคลื่อนล้อหน้า กับแบบขับเคลื่อนสี่ล้อ โดยเปลี่ยนจากเครื่องSOHC 20Rในรุ่นขับเคลื่อนล้อหน้า มาเป็น22R ในช่วงรุ่นขับเคลื่อนล้อหน้าเซลิก้ามาพร้อมกับ เทอร์โบชาร์จเจอร์และระบบแวเรียเบิลวาล์วไทมิง (variable valve timing) ปัจจุบัน โตโยต้า เซลิก้า ได้เลิกผลิตไปแล้ว โดยรถเซลิก้ารุ่นสุดท้ายเป็นรถรุ่นปี พ.ศ. 2548 แต่ผลิตข้ามปีไปจนถึงปี พ.ศ. 2549 ก่อนจะเลิกผลิตไปในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและโตโยต้า เซลิก้า · ดูเพิ่มเติม »

เปอโยต์ 405

ปอโยต์ 405 (Peugeot 405) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ผลิตโดยเปอโยต์ เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2530 ออกมาเพื่อทดแทนเปอโยต์ 505 (Peugeot 505) และเลิกผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยมีเปอโยต์ 406 (Peugeot 406) มาทดแทน แต่ในบางประเทศ เปอโยต์ 405 ยังมีการผลิตอยู่เพื่อแซยิดรุ่นเดิมไปก่อน เปอโยต์ 405 มีตัวถัง 2 แบบคือ ซีดาน 4 ประตู และสเตชันวากอน 5 ประตู มีเครื่องยนต์ตั้งแต่ 1.4 ไปจนถึง 2.0 ลิตรทั้งแบบเบนซินและดีเซล มีฐานการประกอบที่ประเทศอาร์เจนตินา,ชิลี,อียิปต์,ฝรั่งเศส,อินโดนีเซีย,อิหร่าน,โปแลนด์,ไต้หวัน,สหราชอาณาจักรและซิมบับเว ตลอดระยะเวลาที่ทำตลาด เปอโยต์ขาย 405 ไปได้ทั่วโลก 2.5 ล้านคัน ในประเทศไทย บริษัท ยนตรกิจ คอร์เปอเรชั่น จำกัด ซึ่งเป็นผู้ผลิต นำเข้าและจำหน่ายเปอโยต์์ในยุคนั้น เคยนำเข้าเปอโยต์ 405 มาจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีรุ่น 405 GR และ 405 Mi16 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2536 จึงมีการไมเนอร์เชนจ์ให้ดูสวยงามขึ้น ยุบรุ่น GR และ Mi16 ลง เหลือแต่รุ่น SRi เครื่องยนต์เปลี่ยนมาใช้เป็นแบบ 4 สูบ SOHC 8 วาล์ว 2.0 ลิตร 123 แรงม้า ภายในออกแบบให้ดูสวยงามขึ้น มีลายไม้แผ่นเล็กๆ แปะอยู่ตรงแดชบอร์ดฝั่งคนนั่ง ล้อลายเดิม แต่กันชนหน้า-หลังที่เป็นแบบสเกิร์ตในตัว กับสปอยเลอร์บนฝากระโปรงท้ายไม่มีให้แล้ว ภาพลักษณ์ของรถจึงออกไปทางแนวหรูขึ้น ต่อมาก็มีรุ่นประหยัด 405 GRi เครื่องยนต์ 1.6 ลิตร 90 แรงม้า ทำราคาแข่งกับรถญี่ปุ่น ก่อนที่ 405 จะหลีกทางให้กับการมาของ 406 ก็มีการนำชื่อ Mi16 กลับมาขายใหม่โดยใช้บอดี้ของ SRi ใส่ชุดแต่งสปอร์ตไฟหน้ากลม 4 ดวง และนำเครื่องยนต์จาก 306 S16 2.0 ลิตร 155 แรงม้ามาใช้ รถรุ่นนี้ในปัจจุบันถือว่าหายากมาก เพราะในช่วงที่ยังวางจำหน่ายอยู่ ก็ไม่ค่อยประสบความสำเร็จมากนัก.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและเปอโยต์ 405 · ดูเพิ่มเติม »

12 กันยายน

วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โตโยต้า โคโรน่าและ12 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »