โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์

ดัชนี พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์

นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

54 ความสัมพันธ์: ชุมพล จุลใสพ.ศ. 2535พ.ศ. 2539พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พรรคประชาธิปัตย์พรรคเพื่อไทยกบฏกรรณิกา ธรรมเกษรกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554กปปส.มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตตมัธยมศึกษารชฏ พิสิษฐบรรณกรรัฐนิวเจอร์ซีย์วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษกวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557ศาสนาพุทธสกลธี ภัททิยกุลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสฤษดิ์ ธนะรัชต์สวนโมกขพลารามสหรัฐสำนักนายกรัฐมนตรีสถานีรถไฟสามเสนสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกอภิรักษ์ โกษะโยธินอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรทัย ฐานะจาโรอนุตตมา อมรวิวัฒน์จังหวัดสุราษฎร์ธานีถนอม กิตติขจรณัฏฐพล ทีปสุวรรณดนุพร ปุณณกันต์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ปริญญาตรีนุสบา ปุณณกันต์โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษาเศรษฐศาสตร์เหรียญลูกเสือสดุดีเขตพญาไทเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย...เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก14 พฤษภาคม24 มีนาคม30 ธันวาคม ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

ชุมพล จุลใส

นายชุมพล จุลใส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 2 สมั.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และชุมพล จุลใส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และพรรคเพื่อไทย · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ

กบฏ, ขบถ หรือ กระบถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และกบฏ · ดูเพิ่มเติม »

กรรณิกา ธรรมเกษร

กรรณิกา ธรรมเกษร ชื่อเล่น แอ้ (11 สิงหาคม พ.ศ. 2490 -) เป็นผู้ประกาศข่าว นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และกรรณิกา ธรรมเกษร · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาผู้ประกอบการ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กปปส.

กปป. มีชื่อเต็มว่า คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ ชื่อเดิม คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า People's Democratic Reform Committee, แปลตามตัวอักษร คณะกรรมการประชาชนปฏิรูปประชาธิปไตย, ย่อ: PDRC) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย โดยมุ่งหมายขจัดอิทธิพลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จากการเมืองไทย และการจัดตั้งสภาประชาชนที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อควบคุมการปฏิรูปการเมือง กลุ่มดังกล่าวมีบทบาทสูงในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 ในสถานะของผู้จัดกิจกรรมชุมนุมประท้วงขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร สุเทพ เทือกสุบรรณ ผู้นำการประท้วงและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ ก่อตั้งกลุ่มดังกล่าวตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 และแต่งตั้งตนเองเป็นเลขาธิการ ขบวนการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากหลายองค์การ รวมถึงพรรคประชาธิปัตย์ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กลุ่มนักเคลื่อนไหวนักศึกษา สหภาพแรงงานของรัฐ และกลุ่มนิยมทหาร การสนับสนุนของ กปป.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และกปปส. · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต

มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต (Ohio State University) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐในสหรัฐอเมริกา ที่มุ่งเน้นการวิจัย ตั้งอยู่ที่เมืองโคลัมบัสอันเป็นเมืองหลวงของรัฐโอไฮโอ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2413 ในปี..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต · ดูเพิ่มเติม »

มัธยมศึกษา

มัธยมศึกษา (ย่อว่า ม; secondary education) เป็นลำดับการศึกษา ขั้นที่ 3 รองจากระดับ ประถมศึกษา โดยการศึกษาในขั้นนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพให้เหมาะสมกับวัย ความต้องการ ความสนใจ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและรู้จักเลือกอาชีพที่เป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคม การศึกษาระดับนี้ใช้เวลาเรียนสามปี โดยผู้เรียนจะมีอายุระหว่าง 12 - 17 โดยผู้เรียนจบในระดับมัธยมศึกษานี้สามารถไปประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถ หรือศึกษาต่อในระดับ อุดมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนเลือกเรียนกลุ่มวิชาการหรือวิชาชีพตามความถนัดของตนเอง ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายผุ้เรียนสามารถเรียนกลุ่มวิชาที่ผู้เรียนชื่นชอบเพื่อยึดเป็นอาชีพได้.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และมัธยมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

รชฏ พิสิษฐบรรณกร

ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร อดีต ส.ส.พรรคไทยรักไทยและอดีตทหารบกชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2516 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 34 ในตำแหน่งประธานรุ่น, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 45 ในตำแหน่งหัวหน้านักเรียน, ปริญญาโทจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัย Santo Thomas, ผ่านหลักสูตรอบรมจากสถาบันพระปกเกล้า เคยรับราชการที่กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 8 จังหวัดเลย และกรมทหารพรานกองทัพภาคที่ 2 ก่อนจะย้ายมารับราชการทหารสังกัดกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยทำหน้าที่ถวายอารักขาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ จากนั้นได้ลาออกจากราชการ เพื่อมาทำงานด้านการเมืองการเมือง โดยได้ลงรับสมัครเลือกตั้งในเขต 4 กรุงเทพมหานคร (เขตพญาไท, เขตราชเทวี) สังกัดพรรคไทยรักไทย ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยพบกับคู่แข่งคนสำคัญ คือ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ของพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่ง ร.อ.รชฏ สามารถเอาชนะไปได้อย่างเฉียดฉิว (ร.อ.รชฏได้ 30,352 คะแนน, นายพุทธิพงษ์ได้ 28,423 คะแนน) และในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และรชฏ พิสิษฐบรรณกร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวเจอร์ซีย์

รัฐนิวเจอร์ซีย์ (New Jersey) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ โดยอยู่ติดกับรัฐนิวยอร์ก ชื่อนิวเจอร์ซีย์มาจากชื่อของเกาะเจอร์ซีย์ บริเวณช่องแคบอังกฤษในยุโรป ชื่อเล่นของรัฐมีชื่อว่า "การ์เดนสเตต" (Garden State) ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่ตั้งรกรากในนิวเจอร์ซีย์คือ ชาวสวีเดน และชาวเยอรมัน เมืองสำคัญในรัฐนิวเจอร์ซีย์ได้แก่ นูอาร์ก (น้วก) เจอร์ซีซิตี และ แอตแลนติกซิตี ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ นิวยอร์ก ไจแอนต์, นิวยอร์ก เจ็ต, นิวเจอร์ซีย์ เน็ต, นิวเจอร์ซีย์ เดวิลส์ และ เมโทรสตารส์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และรัฐนิวเจอร์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก

วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เป็นวัดธรรมยุติกนิกาย ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำริให้สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สกลธี ภัททิยกุล

กลธี ภัททิยกุล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 4 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรชายของพลเอกวินัย ภัททิยกุล อดีตเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.).

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และสกลธี ภัททิยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนโมกขพลาราม

ีฌาปนกิจร่างพุทธทาสภิกขุ ณ สวนโมกขพลาราม สวนโมกขพลาราม หรือชื่อเรียกทางการว่า วัดธารน้ำไหล จัดตั้งโดย พุทธทาสภิกขุ ตั้งที่เขาพุทธทอง ริมทางหลวงหมายเลข 41 บริเวณกิโลเมตรที่ 134 อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อให้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและสถานที่เผยแผ่พระพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก ท่านพุทธทาส หรือ พระมหาเงื่อม ในเวลานั้น พร้อมด้วยโยมน้องชาย คือ นายยี่เกย หรือ คุณธรรมทาส พานิช และ เพื่อนในคณะธรรมทานประมาณ 4 - 5 คน เท่านั้น ที่ร่วมรับรู้ถึงปณิธานอันมุ่งมั่นในการปฏิบัติธรรม ตามรอยพระอรหันต์ ของท่าน ทุกคนเต็มอกเต็มใจ ที่จะหนุนช่วยด้วยความศรัทธา โดยพากันออกเสาะหาสถานที่ ซึ่งคิดว่ามี ความวิเวก และ เหมาะสมจะเป็นสถานที่ เพื่อทดลองปฏิบัติธรรม ตามรอยพระอรหันต์ สำรวจกันอยู่ประมาณเดือนเศษ ก็พบ วัดร้าง เนื้อที่ประมาณ 60 ไร่ ชื่อ วัดตระพังจิก ซึ่งรกร้างมานาน บริเวณเป็น ป่ารกครึ้ม มีสระน้ำใหญ่ ซึ่งร่ำลือกันว่ามีผีดุอาศัยอยู่ เมื่อเป็นที่พอใจแล้ว คณะอุบาสก ดังกล่าว ก็จัดทำเพิงที่พัก อยู่หลัง พระพุทธรูปเก่า ซึ่งเป็น พระประธาน ใน วัดร้าง นั้น แล้วท่านก็เข้าอยู่ใน วัดร้างแห่งนี้ เมื่อวันทื่ 12 พฤษภาคม 2475 อันตรงกับ วันวิสาขบูชา โดยมี อัฐบริขาร ตะเกียง และ หนังสืออีกเพียง 2 - 3 เล่ม ติดตัวไป เท่านั้น เข้าไปอยู่ได้ไม่กี่วัน วัดร้าง นาม ตระพังจิก นี้ ก็ได้รับการตั้งนามขึ้นใหม่ ซึ่งท่านเห็นว่า บริเวณใกล้ที่พักนั้น มี ต้นโมก และ ต้นพลา ขึ้นอยู่ทั่วไป จึงคิดนำคำทั้งสองมาต่อเติมขึ้นใหม่ ให้มีความหมายใน ทางธรรม จึงเกิดคำว่า สวนโมกขพลาราม อันหมายถึง สวนป่าอันเป็นกำลังแห่งความหลุดพ้นทุกข์ ขึ้นในโลกตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นม.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และสวนโมกขพลาราม · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักนายกรัฐมนตรี

ำนักนายกรัฐมนตรี (Prime Minister's Office) เป็นสำนักงานประจำสำหรับนายกรัฐมนตรีของแต่ละประเทศ เช่น.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และสำนักนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสามเสน

การก่อสร้างที่ชานชลาสถานีรถไฟสามเสน ต้นปี พ.ศ. 2560 สถานีรถไฟสามเสน เป็นสถานีรถไฟที่สำคัญสถานีหนึ่ง เพราะอยู่ในย่านชุมชนใจกลางย่านที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานคร ขบวนรถไฟที่วิ่งผ่านคือ รถไฟสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายใต้ และขบวนรถชานเมือง เดิมมีอาคารทรงดอกเห็ดที่เป็นเอกลักษณ์สวยงาม ได้รับการออกแบบโดยอภัย เผดิมชิต แต่ต่อมารื้อลงเนื่องจากต้องใช้พื้นที่ ในการวางตอม่อโครงการโฮปเวลล์ สถานีรถไฟสามเสนตั้งอยู่ริมถนนเทอดดำริ มีพื้นที่อยู่ในแขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต ในพื้นที่ชานชลาฝั่งไปสถานีชุมทางบางซื่อ (ตัวอาคารสถานี) และบางส่วนอยู่ในแขวงพญาไท เขตพญาไท ในพื้นที่ชานชลาฝั่งไปสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง).

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และสถานีรถไฟสามเสน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

อภิรักษ์ โกษะโยธิน

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และอภิรักษ์ โกษะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรทัย ฐานะจาโร

อรทัย ฐานะจาโร (ชื่อเล่น: เหน่ง) เดิมมีชื่อว่า อรทัย กาญจนชูศักดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ที่ย่านเยาวราช โดยเป็นบุตรสาวของนายส่ง กาญจนชูศักดิ์ (หรือที่รู้จักกันโดทั่วไปว่าแชแม้)โปรโมเตอร์มวยชื่อดังและนักธุรกิจโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังยี่ห้อ "ปลามังกร" กับนางฉลวย กาญจนชูศักดิ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนสมถวิล ราชดำริ และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกการบริหารธุรกิจ เมื่อศึกษาจบแล้ว ได้ช่วยงานในกิจการโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังซึ่งเป็นกิจการของครอบครัว และมีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นโปรโมเตอร์มวยร่วมกับนายส่ง ซึ่งเป็นบิดา และเข้าเป็นโปรโมเตอร์เต็มตัวเมื่อนายส่งถึงแก่กรรมไป โดยอาจเรียกได้ว่า เป็นโปรโมเตอร์หญิงคนแรกของไทย โดยมีนักมวยหลายคนในสังกัด ซึ่งมักจะเป็นนักมวยในช่วงชีวิตท้าย ๆ การชกมวยแล้ว เช่น เมืองชัย กิตติเกษม, โนรี จ๊อกกี้ยิม และต่อศักดิ์ ศศิประภายิม ได้เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2537 ด้วยการเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตสัมพันธวงศ์ สังกัดพรรคพลังธรรม และได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ครั้งแรกในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2538 ในเขตสัมพันธวงศ์ พรรคพลังธรรม ซึ่งเป็นยุคที่มี.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นหัวหน้าพรรค มีตำแหน่งทางการเมืองต่าง ๆ อาทิ ตำแหน่ง ผู้ช่วยโฆษกคณะกรรมาธิการการกีฬา คนที่ 2, ผู้ช่วยโฆษกคณะกรรมาธิการการพลังงาน, คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร และ โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี, ประจำสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ. 2544 ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายวัฒนา เมืองสุข) เมื่อปี พ.ศ. 2545 และเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เมื่อปี พ.ศ. 2546, เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (น.พ.สุชัย เจริญรัตนกุล) เมื่อปี พ.ศ. 2548, เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (นายวัฒนา เมืองสุข) เมื่อปี..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และอรทัย ฐานะจาโร · ดูเพิ่มเติม »

อนุตตมา อมรวิวัฒน์

นางสาวอนุตตมา อมรวิวัฒน์ (ชื่อเล่น จิ๊บ) รักษาการรองโฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 และเป็นบุตรสาวของพลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (น้องชายของนายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์).

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และอนุตตมา อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ

นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ อดีตผู้อำนวยการพรรคประชาธิปัตย์ และ ประธานสโมสรทีมฟุตบอลบางกอกเอฟซี.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และณัฏฐพล ทีปสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และดนุพร ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาตรี

ปริญญาตรี หรือ ปริญญาบัณฑิต เป็นระดับการศึกษาย่อยในการอุดมศึกษา ต่อเนื่องจากชั้นมัธยมศึกษา คำว่า ตรี หมายถึง ชั้นที่สาม (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่า โท สูงกว่า จัตวา) ระดับปริญญาตรี โดยทั่วไปเวลาสี่ปี แต่สามารถช่วง 2-6 ปีขึ้นอยู่กับภูมิภาคของโลก.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และปริญญาตรี · ดูเพิ่มเติม »

นุสบา ปุณณกันต์

นุสบา ปุณณกันต์ (ชื่อเล่น นุส) นามสกุลเดิม วานิชอังกูร เป็นนักแสดง นางแบบ และนักธุรกิจชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2516 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และระดับปริญญาโทในสาขา​การบริหารจัด​การทางวัฒนธรรม ภาคภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านชีวิตส่วนตัวสมรสกับ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ นักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์ มีลูกชายชื่อปุณณ์ และมีบุตรอีกหนึ่งคนชื่อ กันต.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และนุสบา ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา

รงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เป็นโรงเรียนสหศึกษาให้การศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นห้องปฏิบัติการฝึกหัดครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์

รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญลูกเสือสดุดี

หรียญลูกเสือสดุดี มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Boy Scout Citation Medal" เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการ สร้างขึ้นตามพระราชบัญญัติลูกเสือ..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และเหรียญลูกเสือสดุดี · ดูเพิ่มเติม »

เขตพญาไท

ตพญาไท เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และเขตพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และ24 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์และ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »