เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พลพรรคยูโกสลาเวีย

ดัชนี พลพรรคยูโกสลาเวีย

ลพรรคยูโกสลาเวีย หรือ กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติยูโกสลาเวีย เป็นขบวนการนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ในการต่อต้านฝ่ายอักษะ (โดยเฉพาะเยอรมนี) ในเขตยึดครองยูโกสลาเวียในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ขบวนการเป็นขบวนการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในยุโรปในการต่อต้านฝ่ายอักษะของขบวนการต่อต้านช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มักจะเปรียบเทียบกับขบวนการต่อต้านโปแลนด์ แม้ว่าภายหลังจะเป็นขบวนการอิสระที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์เป็นส่วนใหญ่ การต่อต้านยูโกสลาเวียภายใต้การนำโดยพรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้บัญชาการคือจอมพลยอซีป บรอซ ตีโต.

สารบัญ

  1. 13 ความสัมพันธ์: กองทัพประชาชนยูโกสลาเวียฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายอักษะยอซีป บรอซ ตีโตยูโกสลาเวียรัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบียราชอาณาจักรยูโกสลาเวียราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)ลัทธิคอมมิวนิสต์สงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวียอูสตาซีนอวีซาดเชทนิกส์

กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย

กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า กองทัพแห่งชาติยูโกสลาเวีย (Jugoslavenska narodna armija - JNA; Југословенската народна армија - ЈНА; Jugoslovanska ljudska armada - JLA) เป็นกองกำลังทหารของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ระหว่าง..

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและกองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและฝ่ายอักษะ

ยอซีป บรอซ ตีโต

อซีป บรอซ (Јосип Броз/Josip Broz) หรือ ตีโต (Тито/Tito, พ.ศ. 2435-2523) เป็นรัฐบุรุษและประธานาธิบดีของประเทศยูโกสลาเวีย (พ.ศ. 2496-2523) เกิดที่เมืองคุมรอเวตส์ อาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนียซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันเมืองนี้อยู่ในประเทศโครเอเชีย) คำว่า "ตีโต" แปลว่า "นั่น-นี่" เป็นสมญานามที่ได้มาจากการชอบสั่งนั่นสั่งนี่เป็นประจำของเขาเมื่อมีอำนาจ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ตีโตเข้าประจำการเป็นทหารในกองทัพบกออสเตรีย-ฮังการี ถูกจับเป็นเชลยโดยกองทัพรัสเซียและได้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ในเวลาต่อมา ตีโตถูกจองจำเนื่องจากการสมรู้ร่วมคิดต่อต้านระบอบการปกครองในยูโกสลาเวีย (..

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและยอซีป บรอซ ตีโต

ยูโกสลาเวีย

ูโกสลาเวีย (Yugoslavia; สลาวิกใต้: Jugoslavija; เซอร์เบีย: Југославија) เป็นชื่ออดีตประเทศบริเวณคาบสมุทรบอลข่านในทวีปยุโรป ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความหมายของคำว่ายูโกสลาเวียคือ "ดินแดนของชาวสลาฟตอนใต้".

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและยูโกสลาเวีย

รัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบีย

รัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบีย (Vlada narodnog spasa, Влада народног спаса; Regierung der nationalen Rettung) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระบอบเนดิก เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมัน.

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและรัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชียและสโลวีน: Kraljevina Jugoslavija, อักษรซีริลลิก: Краљевина Југославија; Kingdom of Yugoslavia) เป็นราชอาณาจักรที่มีดินแดนครอบคลุมตั้งแต่ทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่านไปจนถึงยุโรปกลาง ที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่าง ค.ศ.

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–ค.ศ. 1946) (ฮังการี: Magyar Királyság) เป็นราชอาณาจักรในปี..

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและลัทธิคอมมิวนิสต์

สงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวีย

ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวียได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวีย

อูสตาซี

อูสตาซี, หรือเป็นที่รู้จักกันคือ อูสตาซ่า – ขบวนการปฏิวัติโครเอเชีย' (Ustaša – Hrvatski revolucionarni pokret), เป็นขบวนการชาวโครเอเชียผู้นิยมฟาสซิสต์, การเหยียดผิว (racist), ความคลั่งชาตินิยม (ultranationalist) และองค์กรการก่อการ้าย ขบวนการได้เคลื่อนไหว ในรูปแบบดั้งเดิมระหว่างปี..

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและอูสตาซี

นอวีซาด

ทัศนียภาพเมืองนอวีซาด นอวีซาด (Novi Sad) เป็นเมืองในประเทศเซอร์เบีย และเป็นเมืองหลวงของจังหวัดปกครองตนเองวอยวอดีนา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำดานูบ ทางตอนเหนือของประเทศ มีพื้นที่ 1,105 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 341,625 คน หมวดหมู่:เมืองในประเทศเซอร์เบีย.

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและนอวีซาด

เชทนิกส์

ขบวนการเชทนิกส์ที่แยกตัวจากกองทัพยูโกสลาเวีย(Chetnik Detachments of the Yugoslav Army) หรือเป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า เชทนิกส์ (Četnici, Четници,; Četniki),เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวในยูโกสลาเวียในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองภายใต้การนำโดยเดรซา มิเฮลโรวิก(Draža Mihailović) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวต่อต้านฝ่ายอักษะในเป้าหมายระยะยาวของพวกเขาซึ่งมีส่วนร่วมในการเคลื่อนไหวต่อต้านที่เล็กน้อยจากระยะเวลาที่จำกัด พวกเขายังได้มีส่วนร่วมในกลยุทธ์หรือการเลือกที่จะให้ความร่วมมือกับกองกำลังยึดครองเกือบทั้งหมดของสงคราม เชทนิกส์ของมิเฮลโรวิกได้รับนโยบายจากการให้ความร่วมมือจากการเป็นมิตรกับฝ่ายอักษะและทำงานร่วมกับจากระดับหนึ่งหรืออีกอย่างโดนการจัดตั้ง modus vivendi หรือปฏิบัติการที่"ถูกต้องตามกฏหมาย" กองกำลังเสริมภายใต้การควบคุมฝ่ายอักษะ ในช่วงระยะเวลาหนึ่งและในหลายส่วนของประเทศ กลุ่มเคลื่อนไหวของเชทนิกส์ได้เติบโตอย่างก้าวหน้า ได้เข้าร่วมในข้อตกลทำงานร่วมกัน:ครั้งแรกกับกองกำลังเนดิกในเขตการปกครองของผู้บัญชาการกองทัพในเซอร์เบีย จากนั้นก็อิตาลีในเขตยึดครองแดลเมเชียและมอนเตเนโกร กับกองกำลังอูสตาซีในภาคเหนือของบอสเนีย และภายหลังจากการยอมจำนนของอิตาลี ก็ได้ให้ความร่วมมือกับเยอรมันโดยตรง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ยูโกสลาเวีย หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู พลพรรคยูโกสลาเวียและเชทนิกส์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Yugoslav Partisans