โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระราชวังไพลิน

ดัชนี พระราชวังไพลิน

ระราชวังไพลิน หรือ อิสตานาลีลัม เป็นสถานที่ประทับของกษัตริย์และราชินีแห่งอาณาจักรปัตตานี (ปัตตานี) ตั้งอยู่ที่กรีเซะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ในปัจจุบันไม่มีพระราชวังหลงเหลืออีกต่อไปแล้ว เพราะเนื่องจากเมืองปัตตานีแพ้ศึก พระราชวังจึงถูกกองทัพสยามเผาจนสูญหายหม.

7 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2328มัสยิดกรือเซะสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทอาณาจักรปัตตานีอำเภอเมืองปัตตานีจังหวัดสงขลาจังหวัดปัตตานี

พ.ศ. 2328

ทธศักราช 2328 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระราชวังไพลินและพ.ศ. 2328 · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดกรือเซะ

มัสยิดกรือเซะ (Masjid Kerisek) หรือ มัสยิดสุลต่านมูซัฟฟาร์ชาห์ เป็นมัสยิดเก่าแก่อายุกว่า 200 ปีในจังหวัดปัตตานี สันนิษฐานได้ว่าเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 22 ร่วมสมัยกรุงศรีอยุธยา มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัสยิดปิตูกรือบัน ชื่อนี้เรียกตามรูปทรงของประตูมัสยิด ซึ่งมีลักษณะเป็นวงโค้งแหลมแบบกอทิกของชาวยุโรป และแบบสถาปัตยกรรมของชาวตะวันออกกลาง (คำว่า ปิตู แปลว่า ประตู กรือบัน แปลว่า ช่องประตูที่มีรูปโค้ง) ช่วงเวลาที่มัสยิดกรือเซะถูกสร้างนั้นยังเป็นที่ถกเถียง บ้างว่าสร้างในรัชสมัยสุลต่านมูซัฟฟาร์ชาห์ บ้างก็ว่าสร้างในรัชสมัยรายาบีรู ส่วนกรณีที่มัสยิดสร้างไม่สำเร็จนั้น ก็มีการยึดโยงกับตำนานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวซึ่งมีสุสานอยู่ใกล้กับมัสยิดกรือเซะ ที่ถูกเล่าต่อเติมภายหลังว่าเจ้าแม่ได้สาปให้มัสยิดนี้สร้างไม่สำเร็จ จนกลายเป็นปัญหากินแหนงแคลงใจระหว่างชาวไทยเชื้อสายมลายูและชาวไทยเชื้อสายจีนในพื้นที่ แต่จากการสำรวจและบูรณะของกรมศิลปากร พบว่าโครงสร้างโดมนั้นมีลักษณะไม่แข็งแรงและขาดความสมดุลจึงทำให้พังทลาย ทั้งยังไม่พบร่องรอยถูกเผาหรือถูกฟ้าผ่าตามตำนานที่กล่าวอ้างแต่อย่างใด เพราะหลังราชวงศ์กลันตันปกครองปัตตานีถัดจากราชวงศ์ศรีวังสา ได้ย้ายศูนย์กลางเมืองไปยังบานาและจะบังติกอตามลำดับ มัสยิดกรือเซะจึงถูกทิ้งให้โรยราไป.

ใหม่!!: พระราชวังไพลินและมัสยิดกรือเซะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..

ใหม่!!: พระราชวังไพลินและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปัตตานี

อาณาจักรปัตตานี (كراجأن ڤتاني; Kerajaan Patani) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส (เมืองสะโตย) (เมืองสตูล) และสงขลาบางส่วนในปัจจุบัน อาณาจักรปัตตานีถือกำเนิดขึ้นก่อนอาณาจักรสยาม 500 ปี เริ่มจากเป็นเผ่าเล็ก ๆ รวมตัวกัน มีประชากรอาศัย 200-250 คน มีชื่อว่า ปีสัง โดยแต่ละปีจะมีตูวอลา (หัวหน้าเผ่าในสมัยนั้น) มาปกครอง และจะสลับทุก ๆ 1 ปี ต่อมามีชนกลุ่มใหญ่เข้ามามีบทบาทในแถบนี้มากขึ้น จนในที่สุด ก็ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรลังกาสุกะ และเปลี่ยนจากชื่อ ปีสัง มาเป็น บาลูกา ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 หลังจากนั้นราว 100 ปี ลูกชายกษัตย์ลังกาสุกะได้เดินทางมาถึงที่นี้และรู้สึกประทับใจ เลยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ปาตาอีนิง แล้วก่อตั้งเป็นรัฐใหม่ ชื่อ รัฐปาตาอีนิง จนมีพ่อค้ามากมายเข้ามาติดต่อค้าขายทั้งจีน อาหรับ แต่ชาวอาหรับเรียกที่นี้ว่า ฟาตอนี เลยมีคนเรียกดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป เดิมอาณาจักรปัตตานีนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เริ่มเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม โดยบางช่วงอาณาจักรแผ่ขยายครอบคลุมถึงรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู ตอนกลางของประเทศมาเลเซียอ้างอิงจาก"สี่กษัตริยาปตานี: บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน" ศิลปวัฒนธรรม ฉบับวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: พระราชวังไพลินและอาณาจักรปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองปัตตานี

อำเภอเมืองปัตตานี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: พระราชวังไพลินและอำเภอเมืองปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: พระราชวังไพลินและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พระราชวังไพลินและจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »