เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์

ดัชนี พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์

ระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เป็นเอกสารสำคัญที่เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์ว่ามีความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ฉบับหนึ่งในบรรดาพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับต่างๆ ที่มีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน โดยพงศาวดารฉบับนี้ได้ถูกเขียนขึ้นใน..

สารบัญ

  1. 26 ความสัมพันธ์: พระมหาอุปราชพระมหาธรรมราชาที่ 3พระมหาธรรมราชาที่ 4พระยารามแห่งสุโขทัยพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)พระสุริโยทัยพระอินทราชาพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้พระเทพกษัตรีย์พ่อขุนรามคำแหงมหาราชกรุงเก่าการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์วัดพนัญเชิงวรวิหารศรีปราชญ์สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4สมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2สมเด็จพระอินทราชาสมเด็จพระเจ้ารามราชาสมเด็จพระเจ้าทองลันสำนักหอสมุดแห่งชาติจังหวัดนครราชสีมาเจดีย์

พระมหาอุปราช

ระมหาอุปราช เป็นตำแหน่งรัชทายาท พบในประเทศพม่า ล้านนา ลาว และสยาม.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระมหาอุปราช

พระมหาธรรมราชาที่ 3

ระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 40 เป็นพระมหากษัตริย์ไทยสมัยอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระมหาธรรมราชาที่ 3

พระมหาธรรมราชาที่ 4

ระมหาธรรมราชาที่ 4 หรือ บรมปาล หรือ พระยาบาลเมือง เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่ง ได้ครองเมืองพิษณุโลกในระหว่างปี..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระมหาธรรมราชาที่ 4

พระยารามแห่งสุโขทัย

ระญาราม เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 2นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 45 แห่งอาณาจักรสุโขทัย เชื่อว่าพระนามของพระองค์ตั้งตามพระนามของพ่อขุนรามคำแหงมหาร.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระยารามแห่งสุโขทัย

พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)

อำมาตย์เอก เสวกเอก พระยาปริยัติธรรมธาดา นามเดิม แพ ต้นสกุล ตาละลักษมณ์ อดีตเจ้ากรมราชบัณฑิตขว.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)

พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)

ระศรีศิลป์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชประสูติแต่นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ มีพระเชษฐา 1 พระองค์ ได้แก่ พระยอดฟ้า ภายหลังการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ทรงได้รับการอุปการะจากสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเรื่อยมา จนกระทั่ง พระองค์มีพระชันษา 20 พรรษาได้คิดขบถขึ้นและนำไปสู่การสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อม.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)

พระสุริโยทัย

ระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระสุริโยทัย

พระอินทราชา

ระอินทราชา เป็นพระนามของพระมหากษัตริย์และพระราชโอรสของกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา สามารถหมายถึง.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระอินทราชา

พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้

ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้

พระเทพกษัตรีย์

มเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 102-104 หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรเจ้าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระเทพกษัตรีย์

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพ่อขุนรามคำแหงมหาราช

กรุงเก่า

กรุงเก่า อาจหมายถึง.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และกรุงเก่า

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์เป็นวิธีการประหารพระราชวงศ์ไทยโดยการใช้ท่อนจันทน์เป็นอุปกรณ์ วิธีการดังกล่าวไม่มีการปฏิบัติอีกต่อมาตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้เลิกเสียอย่างเป็นทางการตั้งแต่มีการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญา ร..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

วัดพนัญเชิงวรวิหาร

วัดพนัญเชิงวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัดพนัญเชิงวรวิหาร ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร แบบมหานิกาย มีจุดเด่นสำคัญ คือ พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อซำปอกง ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในพระนครศรีอ.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และวัดพนัญเชิงวรวิหาร

ศรีปราชญ์

รีปราชญ์ เป็นบุคคลซึ่งเอกสารพม่าและมอญที่เขียนจากคำบอกเล่าระบุว่า เป็นข้าราชสำนักสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) แห่งกรุงศรีอยุธยา ถูกเนรเทศไปนครศรีธรรมราชและถูกเจ้าเมืองประหาร ก่อนตายแช่งเจ้าเมืองให้ตายด้วยดาบเดียวกัน และภายหลังก็เป็นไปตามนั้น เรื่องราวของเขาได้รับการดัดแปลงและขยายความอย่างมากในเวลาต่อมา โดยระบุว่า เป็นข้าราชสำนักสมเด็จพระนารายณ์ เป็นบุตรชายของพระโหราธิบดี มีความสามารถทางร้อยกรอง และไปเสียชีวิตที่นครศรีธรรมราชเหมือนในเอกสารเดิม เขายังได้รับการนำเสนอว่า เป็นกวีเอกและบุคคลสำคัญของชาติไทย อย่างไรก็ดี นักประวัติศาสตร์เห็นว่า เขาไม่มีตัวตนจริง เพราะปราศจากการบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่เชื่อถือได้ เขายังน่าจะเป็นเพียงตัวละครเอกในเรื่องเล่าขานของชาวบ้าน ทำนองเดียวกับศรีธนญชัย โดยทั้งศรีปราชญ์และศรีธนญชัยน่าจะรับมาจากนิทานอินโดนีเซียหรือเปอร์เซีย ศรีปราชญ์เป็นตัวแทนความซื่อตรง ศรีธนญชัยเป็นตัวแทนความคดโกง อนึ่ง เดิมเชื่อว่า เขาเป็นผู้ประพันธ์ร้อยกรองเรื่อง กำสรวลศรีปราชญ์ นอกเหนือไปจากเรื่องอื่น ๆ แต่ปัจจุบันมีข้อเสนอว่า เป็นพระนิพนธ์ของพระบรมราชาที่ 3 พระโอรสของสมเด็จพระบรมไตรโลกน.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และศรีปราชญ์

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1

มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 หรือ ขุนหลวงพะงั่ว เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์สุพรรณภูมิที่ได้ครองกรุงศรีอยุธยา ตั้งแต่ปี..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3

มเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า พระนามเดิมว่าพระบรมราชา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แม้พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) จะระบุว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชเป็นพระองค์เดียวกับสมเด็จพระรามาธิบดี ส่วนพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระบุว่าเป็นสมเด็จพระอินทราชาธิราชที่ 2 แต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ อธิบายว่าที่ถูกควรเรียกว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4

มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (พ.ศ. 2040 – พ.ศ. 2076นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 86) พระนามเดิมว่า พระอาทีตยเจ้า เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 11 แห่งกรุงศรีอยุธยาจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ เสวยราชย์ตั้งแต..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4

สมเด็จพระมหินทราธิราช

มเด็จพระมหินทราธิราช พระนามเดิมว่า พระมหินทราธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 16 แห่งอาณาจักรอยุธยา พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าพระองค์ไม่เอาพระทัยใส่การศึก ทำให้การรักษาพระนครอ่อนแอลงจนเสียกรุงครั้งที่หนึ่ง.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระมหินทราธิราช

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2

มเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 10 แห่งอาณาจักรอยุธยา มีพระนามเดิมว่า พระเชษฐา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จพระราชสมภพที่เมืองพิษณุโลกเมื่อปีมะโรง..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2

สมเด็จพระอินทราชา

มเด็จพระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช หรือ สมเด็จพระนครินทราธิราช เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระอินทราชา

สมเด็จพระเจ้ารามราชา

มเด็จพญารามเจ้า หรือ สมเด็จพระเจ้ารามราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 5 แห่งอาณาจักรอยุธยา ครองราชย์ระหว่าง..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระเจ้ารามราชา

สมเด็จพระเจ้าทองลัน

มเด็จพระเจ้าทองลัน หรือ สมเด็จพระเจ้าทองจันทร์ หรือ เจ้าทองลั่น หรือ เจ้าทองจัน หรือ เจ้าทองลันทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระเจ้าทองลัน

สำนักหอสมุดแห่งชาติ

ำนักหอสมุดแห่งชาติ (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อปี..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสำนักหอสมุดแห่งชาติ

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และจังหวัดนครราชสีมา

เจดีย์

ระปฐมเจดีย์ที่จังหวัดนครปฐม เจดีย์ (ภาษาบาลี: เจติย, ภาษาสันสกฤต: ไจติยะ) หรือ สถูป (ภาษาบาลี: ถูป, ภาษาสันสกฤต: สฺตูป) เป็นสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนา พบได้ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชีย เจดีย์ หมายถึงสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชาระลึกถึง สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ลูกหลานและผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่สักการะของมหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ์ สำหรับประเทศไทย คำว่า สถูป และ เจดีย์ เรามักรวมเรียกว่า “สถูปเจดีย์” หรือ “เจดีย์” มีความหมายเฉพาะ ถึงสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนาที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิ หรือเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพื่อเป็นที่ระลึก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ในสมัยหลังลงมาคงมีการสร้างสถานที่เพื่อบรรจุอัฐิธาตุ และเพื่อเคารพบูชาระลึกถึงพร้อมกันไปด้ว.

ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และเจดีย์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐฯ