โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)

ดัชนี พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)

ระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี มีนามเดิมว่า บุญช่วย วณิกกุล (15 มิถุนายน พ.ศ. 2432 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีก.

33 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2432พ.ศ. 2452พ.ศ. 2455พ.ศ. 2459พ.ศ. 2466พ.ศ. 2471พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2492พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระตำหนักสวนกุหลาบกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐสภารายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกาศาลฎีกาศาสนาพุทธทุนเล่าเรียนหลวงคณะองคมนตรีตุลาการรัฐธรรมนูญประมวลกฎหมายโรงเรียนราชวิทยาลัยเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เดอะเฮก10 ธันวาคม15 มิถุนายน15 ธันวาคม18 พฤศจิกายน20 มิถุนายน24 มิถุนายน

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักสวนกุหลาบ

ระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง พระตำหนักสวนกุหลาบ เป็นพระตำหนักที่ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอกของพระบรมมหาราชวัง เป็นพระตำหนักที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขณะทรงดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ พระตำหนักนี้สร้างขึ้นในบริเวณสวนกุหลาบซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้ปลูกดอกกุหลาบไว้ เมื่อครั้งขยายอาณาเขตพระบรมมหาราชวังไปทางด้านทิศใต้จรดถนนท้ายวังริมวัดพระเชตุพน ในรัชกาลต่อมาได้มีการสร้างคลังศุภรัตน์ในบริเวณนี้เพื่อใช้เก็บสบงจีวรของหลวง โดยสร้างเป็นตึกเก๋งจีนตามความนิยมในสมัยนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขคลังศุภรัตน์เป็นพระตำหนักสวนกุหลาบและพระราชทานพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นที่ประทับของพระราชโอรส เมื่อสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เป็น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และต่อมาเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งเป็นที่ฝึกหัดราชการของบุคคลในราชสกุลและบุตรหลานข้าราชการเพื่อเป็นทหารมหาดเล็ก และเป็นโรงเรียนสอบวิชาข้าราชการพลเรือนในเวลาต่อมา จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๔๑ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบจึงย้ายไปตั้งที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปัจจุบันพระตำหนักสวนกุหลาบเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูโรงเรียนขึ้นใหม่ เมื่อ..

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และพระตำหนักสวนกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภา

ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา

ต่อไปนี้เป็น รายพระนามและรายนามของผู้ทรงดำรงตำแหน่งและดำรงตำแหน่งอธิบดีและประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกา

ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ทุนเล่าเรียนหลวง

ทุนเล่าเรียนหลวง (King's Scholarship) เป็นทุนการศึกษาแบบให้เปล่าซึ่งได้รับความนับถือสำหรับการศึกษาปริญญาตรีต่อต่างประเทศ ให้แผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศไทย การสอบคุณสมบัติจัดขึ้นโดยสำนักงานข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และมีการแข่งขันสูงมาก แต่ละปีมีทุนการศึกษาจำนวนเก้าทุน ทุนการศึกษานี้ได้รับพิจารณาอย่างกว้างขวางว่าเป็นความสำเร็จทางวิชาการอันยิ่งใหญ่ที่สุดสำหรับนักเรียนไทย ไม่เหมือนกับทุนการศึกษาของรัฐบาลไทยอื่น ๆ ทุนเล่าเรียนหลวงไม่มีข้อกำหนดผูกพันว่าผู้รับจะต้องทำงานให้กับรัฐบาลไทย มีเพียงข้อกำหนดให้ผู้รับเดินทางกลับมาทำงานในประเทศเป็นเวลาเท่ากับระยะเวลาที่ไปศึกษา ทุนเล่าเรียนหลวงพระราชทานโดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แม้จนถึงปัจจุบัน จะมิได้พระราชทานเป็นการส่วนพระองค์ ในปีหลัง ๆ ทุนเล่าเรียนหลวงพระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แทนพระมหากษัตริย์ ทุนเล่าเรียนหลวงพระราชทานครั้งแรกโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และก่อนถูกยกเลิกไปใน..

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และทุนเล่าเรียนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาการรัฐธรรมนูญ

ตุลาการรัฐธรรมนูญ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และตุลาการรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมาย

ประมวลกฎหมาย คือ กฎหมายซึ่งรวมบทกฎหมายต่าง ๆ ในเรื่องเดียวกันเข้าไว้ด้วยกัน และได้จัดให้มีการบัญญัติอย่างเป็นระบบ มีการจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่อย่างเรียบร้อย และมีข้อความท้าวถึงซึ่งกันและกัน โดยประมวลกฎหมายมีลำดับศักดิ์ของกฎหมายเท่ากับพระราชบัญญัติเนื่องจากเป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ประมวลกฎหมายฉบับแรกของประแทศไทย ก็คือ กฎหมายลักษณะอาญา ร..

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และประมวลกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชวิทยาลัย

รงเรียนราชวิทยาลัย (ปัจจุบันคือโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) เป็นโรงเรียนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริที่จะจัดตั้งเพื่อผลิตบุคลากรรองรับการปฏิรูปการปกครองประเทศในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในด้านการใช้ภาษาอังกฤษและด้านกฎหมาย มีการฝึกและอบรมให้คุ้นเคยกับการเรียนและวัฒนธรรมแบบตะวันตกอันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อต่างประเทศ และเข้ารับราชการในกระทรวงต่างๆ โรงเรียนราชวิทยาลัย มีการโยกย้ายที่ตั้งสถานศึกษาถึง 4 สมั.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และโรงเรียนราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฮก

อะเฮก หรือ กรุงเฮก (The Hague, Den Haag แด็นฮาค) หรือชื่อทางการภาษาดัตช์คือ สคราเฟินฮาเคอ ('s-Gravenhage) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมืองมีประชากร 500,000 คน (ข้อมูลเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2011) เดอะเฮกเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 รองจากกรุงอัมสเตอร์ดัมและรอตเทอร์ดาม ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ มีอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและการพิมพ์ เป็นที่ตั้งของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลโลกซึ่งตั้งอยู่ที่วังสันติสร้างบริจาคโดยมหาเศรษฐีชาวอเมริกัน ชื่อ แอนดรูว์ คาร์เนกี.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และเดอะเฮก · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 มิถุนายน

วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และ15 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และ15 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และ18 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)และ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

บุญช่วย วณิกกุลพระยาเทพวิทุร พหุลศรุตาบดีพระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดีพระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »