สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: พรรคคอมมิวนิสต์กลัสนอสต์ยูโรคอมมิวนิสต์ลัทธิมากซ์ลัทธิเลนินวุฒิสภาสหรัฐสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐสหรัฐหอสมุดรัฐสภาอินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์เปเรสตรอยคา
- ความสัมพันธ์สหภาพโซเวียต–สหรัฐ
- พรรคการเมืองสหรัฐ
พรรคคอมมิวนิสต์
รรคคอมมิวนิสต์ (Communist party) หมายถึง พรรคที่รณรงค์การนำหลักการทางสังคมของลัทธิคอมมิวนิสต์ไปใช้ ไปจนถึงการนำรูปแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ไปใช้ ชื่อ คอมมิวนิสต์ นั้น มีที่มาจาก คำประกาศพรรคคอมมิวนิสต์ เมื่อ..
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและพรรคคอมมิวนิสต์
กลัสนอสต์
กลัสนอสต์ (гла́сность, Glasnost; ท. "การเผยแพร่") เป็นนโยบายเรียกร้องให้เพิ่มความเปิดเผยและความโปร่งใสในสถาบันและกิจกรรมรัฐบาลในสหภาพโซเวียต มีฮาอิล กอร์บาชอฟริเริ่มนโยบายดังกล่าวในครึ่งหลังของคริสต์ทศวรรษ 1980 มักถูกจับคู่กับเปเรสตรอยคา (Perestroika) ซึ่งเป็นอีกการปฏิรูปที่กอร์บาชอฟริเริ่มในห้วงเวลาเดียวกัน กอร์บาชอฟมักใช้คำนี้เพื่อเจาะจงนโยบายที่เขาเชื่อว่าอาจช่วยลดการฉ้อราษฎร์บังหลวงในผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์และรัฐบาลโซเวียต และบรรเทาการละเมิดอำนาจบริหารในคณะกรรมการกลาง กลัสนอสต์ยังหมายถึงสมัยที่เจาะจงในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 เมื่อมีการตรวจพิจารณาลดลงและมีเสรีภาพในสารสนเทศเพิ่มขึ้น.
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและกลัสนอสต์
ยูโรคอมมิวนิสต์
ูโรคอมมิวนิสต์ เป็นการรวมกลุ่มของพรรคคอมมิวนิสต์ต่างๆในประเทศยุโรปตะวันตกที่มีพรรคคอมมิวนิสต์ อิตาลี ฝรั่งเศส และสเปนเป็นแกนนำ มีบทบาททางการเมืองอย่างมากในช่วง..
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและยูโรคอมมิวนิสต์
ลัทธิมากซ์
ลัทธิมากซ์ (Marxism) หรือมักใช้ทับศัพท์ว่า มาร์กซิสต์ เป็นวิธีการวิเคราะห์สังคมและเศรษฐกิจซึ่งวิพากษ์ทุนนิยมผ่านกระบวนทัศน์การขูดรีด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นและความขัดแย้งทางสังคมโดยใช้การตีความพัฒนาการประวัติศาสตร์แบบวัสดุนิยม และทัศนะวิภาษวิธีการแปลงสังคม (social transformation) ถือกำเนิดจากนักปรัชญาชาวเยอรมันสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คาร์ล มากซ์และฟรีดริช เองเงิลส์ ลัทธิมากซ์ใช้วิธีวิทยาที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์และวิพากษ์การพัฒนาของทุนนิยมและบทบาทของการต่อสู้ระหว่างชนชั้นในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจทั้งระบบ ตามทฤษฎีลัทธิมากซ์ ความขัดแย้งระหว่างชนชั้นเกิดในสังคมทุนนิยมอันเนือ่งจากความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ทางวัตถุของชนกรรมาชีพที่ถูกกดขี่ ชนกรรมาชีพคือผู้ใช้แรงงานเอาค่าจ้างที่ชนชั้นกระฎุมพีว่าจ้างเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งชนชั้นกระฎุมพีนี้เป็นชนชั้นปกครองที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและเอาความมั่งคั่งมาจากการจัดสรรผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน (กำไร) ที่ชนกรรมาชีพผลิตขึ้น การต่อสู้ระหว่างชนชั้นนี้ซึ่งมักแสดงออกมาเป็นการกบฏของกำลังการผลิตของสังคม (productive force) ต่อความสัมพันธ์การผลิต (relation of production) ของสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติระยะสั้นเมื่อชนชั้นกระฎุมพีประสบความลำบากในการจัดการความแปลกแยกของแรงงาน (alienation of labor) ที่ทวีความรุนแรงขึ้นของชนกรรมาชีพ แม้ว่ามีความสำนึกเรื่องชนชั้น (class consciousness) ระดับมากน้อย วิกฤตนี้ลงเอยด้วยการปฏิวัติของชนกรรมาชีพและการสถาปนาสังคมนิยมในที่สุด ซึ่งเป็นระบบทางสังคมและเศรษฐกิจที่ยึดสังคมเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต กระจายให้แต่ละคนตามการมีส่วนร่วมและการผลิตที่จัดระเบียบโดยตรงสำหรับการใช้ เมื่อกำลังการผลิตก้าวหน้าขึ้น มากซ์ตั้งสมมติฐานว่าสังคมนิยมสุดท้ายจะแปลงเป็นสังคมคอมมิวนิสต์ หมายถึง สังคมไร้ชนชั้น ไร้รัฐ และมีมนุษยธรรมที่ยึดกรรมสิทธิ์ร่วมและหลักการพื้นเดิม "จากแต่ละคนตามความสามารถ ให้แต่ละคนตามความต้องการ" (From each according to his ability, to each according to his needs) ลัทธิมากซ์พัฒนาเป็นหลายแขนงและสำนักคิด แม้ปัจจุบันไม่มีทฤษฎีลัทธิมากซ์หนึ่งเดียว สำนักลัทธิมากซ์ต่าง ๆ เน้นแง่มุมบางอย่างของลัทธิมากซ์คลาสสิกต่างกัน และปฏิเสธหรือดัดแปลงแง่มุมบางอย่าง หลายสำนักคิดมุ่งรวมมโนทัศน์ลัทธิมากซ์กับมโนทัศน์ที่มิใช่มากซ์ ซึ่งมักนำไปสู่บทสรุปที่ขัดแย้งกัน ทว่า สมัยหลังมีขบวนการสู่การรับรองวัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์และวัสดุนิยมวิภาษวิธียังเป็นแง่มุมหลักของสำนักคิดลัทธิมากซ์ทุกสำนัก ซึ่งทำให้มีความเห็นตรงกันระหว่างสำนักต่าง ๆ มากขึ้น.
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและลัทธิมากซ์
ลัทธิเลนิน
ในปรัชญาลัทธิมากซ์ ลัทธิเลนิน (Leninism) เป็นทฤษฎีการเมืองส่วนสำหรับการจัดระเบียบพรรคการเมืองแนวหน้าปฏิวัติอย่างเป็นประชาธิปไตย และการบรรลุลัทธิเผด็จการโดยชนกรรมาชีพซึ่งเป็นประชาธิปไตยทางตรง เช่นเดียวกับสังคมนิยม เลนินเป็นผู้พัฒนา และเป็นชื่อของลัทธิเลนิน ประกอบด้วยทฤษฎีการเมืองและเศรษฐกิจสังคมนิยม พัฒนามาจากลัทธิมากซ์ และการตีความทฤษฎีลัทธิมากซ์ของเลนิน เพื่อการประยุกต์ปฏิบัติเข้ากับสภาพทางสังคมและการเมืองของจักรวรรดิรัสเซียซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในเดือนกุมภาพันธ์ 1917 เป็นเวลาห้าปี ลัทธิเลนินเป็นการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจและการเมืองลัทธิมากซ์ของรัสเซีย ผู้นำไปปฏิบัติ คือ พรรคบอลเชวิก ในการนำไปปฏิบัติ พรรคแนวหน้าแบบลัทธิเลนินให้ความสำนึกทางการเมือง (การศึกษาและการจัดระเบียบ) แก่ชนชั้นกรรมกร และผู้นำปฏิบัติที่จำเป็นต่อการโค่นทุนนิยมในจักรวรดิรัสเซีย หลังการปฏิวัติตุลาคม ค.ศ.
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและลัทธิเลนิน
วุฒิสภาสหรัฐ
วุฒิสภาสหรัฐ (United States Senate) เป็นสภาสูงของรัฐสภาสหรัฐ โดยเป็นสภานิติบัญญัติแห่งสหรัฐร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐซึ่งเป็นสภาล่าง องค์ประกอบและอำนาจของวุฒิสภาตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ มาตรา 1 วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาซึ่งเป็นผู้แทนจากแต่ละรัฐ โดยแต่ละรัฐมีผู้แทนเท่ากันรัฐละสองคน ไม่ว่ามีประชากรมากน้อยเพียงใด โดยมีวาระดำรงตำแหน่งสลับฟันปลา (staggered term) วาระละ 6 ปี ปัจจุบันในสหภาพมี 50 รัฐ ฉะนั้นจึงมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน ตั้งแต่ปี 1789 ถึง 1913 สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งของสภานิติบัญญัติของรัฐที่ตนเป็นผู้แทน หลังการให้สัตยาบันการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญครั้งที่ 17 ในปี 1913 ปัจจุบัน สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งของประชาชน ห้องประชุมวุฒิสภาตั้งอยู่ปีกเหนือของอาคารรัฐสภาสหรัฐในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและวุฒิสภาสหรัฐ
สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ
ผู้แทนราษฎรสหรัฐ (United States House of Representatives) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาสหรัฐ คู่กับวุฒิสภา แต่ละรัฐในสหรัฐมีผู้แทนที่ได้รับเลือกจากจำนวนประชากรของแต่ละเขตที่แบ่งตามจำนวนประชากร จำนวนของผู้แทนราษฎรของแต่ละรัฐจึงขึ้นอยู่กับจำนวนประชากร รัฐแคลิฟอร์เนียที่มีประชากรมากที่สุดมีผู้แทนราษฎรทั้งหมด 53 คน สภาผู้แทนราษฎรสมัยปัจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 435 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละคนมีตำแหน่งสองปี ประธานสภาผู้แทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งของสมาชิก ระบบสภาคู่เป็นระบบที่ผู้ก่อตั้งสหรัฐ (Founding Fathers of the United States) สร้างขึ้นเพื่อให้มีสภาที่เป็นผู้แทนของประชาชนที่เป็นเสียงของประชาชนเพื่อให้เป็นการทำให้สมดุลกับวุฒิสภาที่เป็นผู้แทนของรัฐบาลจากแต่ละรัฐ สภาผู้แทนราษฎรมักจะเทียบได้กับสภาล่าง และวุฒิสภาเทียบได้กับสภาสูง แต่รัฐธรรมนูญของสหรัฐไม่ใช้คำดังกล่าว ทั้งสองสภามีหน้าที่ร่าง เสนอ พิจารณาและอนุมัติกฎหมาย จากการที่สมาชิกได้รับเลือกมาจากกลุ่มคนจำนวนน้อย (ราว 693,000 คนต่อคนใน ค.ศ.
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและสหรัฐ
หอสมุดรัฐสภา
หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หอสมุดรัฐสภา (Library of congress) สถาบันด้านวัฒนธรรมที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกาและเป็นหอสมุดแห่งชาติ ก่อตั้งเมื่อปี..
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและหอสมุดรัฐสภา
อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์
Internet Archive (Bibliotheca Alexandrina) อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์ (Internet Archive) เป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรที่เก็บข้อมูลเว็บไซต์ทั่วไปในลักษณะของห้องสมุดดิจิตัล โดยมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ เพรซีดีโอ ในซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยมีศูนย์ข้อมูลอยู่ที่ ซานฟรานซิสโก เรดวูดซิตี และ เมาน์เทนวิว โดยข้อมูลที่เก็บไว้ได้แก่ภาพหน้าจอของเว็บไซต์ในแต่ละช่วงเวลา และข้อมูลของเว็บไซต์นั้น.
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและอินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์
เปเรสตรอยคา
''เปเรสตรอยคา'' ในไปรษณียากรของสหภาพโซเวียต ในปี 1988 เปเรสตรอยคา (перестро́йка, Perestroika) เป็นขบวนการทางการเมืองเพื่อการปฏิรูปภายในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 ซึ่งสัมพันธ์กับผู้นำโซเวียต มีฮาอิล กอร์บาชอฟ และการปฏิรูปนโยบายกลัสนอสต์ของเขา มีความหมายตามอักษรว่า "การปรับโครงสร้าง" ซึ่งหมายถึง การปรับโครงสร้างระบบการเมืองและเศรษฐกิจของโซเวียต มักแย้งว่าเปเรสตรอยคาเป็นสาเหตุแห่งการล่มสลายของสหภาพโซเวียต การปฏิวัต..
ดู พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอและเปเรสตรอยคา
ดูเพิ่มเติม
ความสัมพันธ์สหภาพโซเวียต–สหรัฐ
- การคว่ำบาตรโอลิมปิกฤดูร้อน 1984
- การจับกุมคามินสกีและเบนเนต
- การผ่อนคลายความตึงเครียด
- การเจรจาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์
- ซาแมนธา สมิธ
- ตูโปเลฟ ตู-4
- ทำลายกำแพงนี้!
- บอบบี ฟิชเชอร์
- ผมเป็นชาวเบอร์ลิน
- ลัทธิทรูแมน
- สตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)
- สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
- สายตรงมอสโก–วอชิงตัน
- อุบัติการณ์ยู-2 พ.ศ. 2503
- เดอะบลูเบิร์ด
- เราจะฝังพวกคุณ
- โครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ
- โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007
- ให้ยืม-เช่า
พรรคการเมืองสหรัฐ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ พรรคคอมมิวนิสต์สหรัฐอเมริกาพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหรัฐอเมริกา