สารบัญ
31 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบริตอะวอดส์พ.ศ. 2508พ.ศ. 2520พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่กลุ่มล้ำยุครางวัลลูกโลกทองคำรางวัลออสการ์ร็อกลอสแอนเจลิสไทมส์ออลมิวสิกออลเทอร์นาทิฟออลเทอร์นาทิฟร็อกออลเทอร์นาทิฟแดนซ์อิเล็กทรอนิกาจังหวะชีวิต ลิขิตด้วยเพลงทริปฮอปทอม ยอร์กดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีทดลองดนตรีคลาสสิกประเทศไอซ์แลนด์แจ๊สโพสต์พังก์เรคยาวิกเฮาส์ (แนวดนตรี)เดอะชูการ์คิวส์เดอะการ์เดียน21 พฤศจิกายน808 สเตต
- นักดนตรีป็อปเด็ก
- นักดนตรีแดนซ์
- นักร้องเสียงโซปราโน
- นักเคลื่อนไหวชาวไอซ์แลนด์
- ศิลปินสังกัดอีเล็คตร้าเรเคิดส์
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.
ดู ปีเยิร์กและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
บริตอะวอดส์
ทางเข้างานบริตอะวอดส์ปี 2008 บริตอะวอดส์ (BRIT Awards หรือเรียกสั้นๆว่า The BRITs) เป็นรางวัลทางดนตรีประจำปี จัดครั้งแรกในปี 1977 แต่จัดครั้งที่ 2 ในปี 1982 และหลังจากนั้นก็จัดต่อเนื่องมาทุกปี บริตอะวอดส์เคยมีการถ่ายทอดสดมาตั้งแต่ปี 1989 จนเมื่อซามานธา ฟ็อกซ์ และ มิก ฟลีตวูด พิธีกรได้นำโชว์มาในทางที่ผิด หลังจากนั้นในปีถัดมาจึงเป็นเทปบันทึกภาพแทนจนกระทั่งปี 2011 จึงได้กลับมาถ่ายทอดสดอีกครั้ง โดยมาสเตอร์การ์ดเป็นผู้สนับสนุนหลักของงาน คำว่า ‘Brit’ เป็นคำย่อของคำว่า Brittania และยังเป็นอักษรย่อของคำว่า British Record Industry Trust ที่เป็นองค์กรที่ช่วยเหลือเด็กและวัยรุ่นที่ต้องการทำงานเกี่ยวกับศิลปะการแสดง เงินที่ได้จากการจัดจะเข้าสู่องค์การการกุศล The Brit Trust ที่ได้ก่อตั้งในปี 19879 เพื่อช่วยเหลือเด็กและวัยรุ่นที่ต้องการพัฒนาทักษะทางด้านดนตรี.
พ.ศ. 2508
ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2520
ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่
ัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่ (Museum of Modern Art) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะตั้งอยู่บนถนน 53 ฝั่งตะวันตก, ระหว่าง 5th และ 6th Avenue ย่านมิดทาว์น แมนฮัตตัน ในนครนิวยอร์กซิตี้ MoMA มีส่วนสำคัญในการพัฒนาและเป็นที่เก็บรวบรวมงานศิลปะสมัยใหม่และมักจะได้รับการกล่าวขานว่าเป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดของศิลปะสมัยใหม่ งานศิลปะซึ่งถูกรวบรวมไว้ที่นี้ มีทั้งศิลปะสมัยใหม่และศิลปะร่วมสมัย เช่น ผลงานสถาปัตยกรรมและการออกแบบ, ภาพวาด, รูปปั้น, ภาพถ่าย, สิ่งพิมพ์และหนังสือแสดงผลงานของศิลปิน, ภาพยนตร์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดของที่นี้รวบรวม หนังสือกว่า 300,000 เล่ม หนังสือศิลปินและวารสารรวมทั้งไฟล์แต่ละไฟล์ได้มากกว่า 70,000 ศิลปิน คลังมีเนื้อหาหลักที่เกี่ยวข้องกับแหล่งประวัติศาสตร์ของศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย นอกจากนี้ MoMA ยังเป็นแหล่งรวมร้านอาหารที่ได้รับรางวัล, ชื่อ “The Modern” ดำเนินการโดยพ่อครัว Gabriel Kreuther.
ดู ปีเยิร์กและพิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่
กลุ่มล้ำยุค
กลุ่มล้ำยุค (avant-garde) ในภาษาฝรั่งเศสหมายถึงทหารกองหน้า (แวนการ์ด), Dictionary.com เรียกดูเมื่อ 14 มีนาคม..
รางวัลลูกโลกทองคำ
รางวัลลูกโลกทองคำ รางวัลลูกโลกทองคำ (Golden Globe Award) เป็นรายการแจกรางวัลประจำปีที่มอบให้กับภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์เริ่มมาต้งแต่ปี 1944 จัดโดย Hollywood Foreign Press Association (HFPA) รางวัลลูกโลกทองคำถูกจัดอันดับว่ามีผู้ชมมากที่สุดอันดับ 3 สำหรับรายการแจกรางวัล ตามหลังรางวัลออสการ์และรางวัลแกรมมี่ การจัดจะจัดช่วงต้นปี โดยยึดผลจากการโหวดจากนักข่าวและสื่อมวลชนในสหรัฐอเมริกา ผู้มีสิทธิเข้าชิงจะคัดเลือกในช่วงหลังวันที่ 1 ตุลาคม ซึ่งแตกต่างจากรางวัลออสการ์ที่ใช้เกณฑ์วันที่ 1 มกราคม และที่แตกต่างคือ เป็นรางวัลที่ไม่มีพิธีกรหลักแต่จะมีผู้เสนอรางวัล และผู้แนะนำรางวัลต่าง.
ดู ปีเยิร์กและรางวัลลูกโลกทองคำ
รางวัลออสการ์
รางวัลออสการ์ อะแคเดมีอะวอร์ด ("รางวัลสถาบัน") หรืิอ ออสการ์ เป็นรางวัลทางภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก จัดโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ (หรือ) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..
ร็อก
ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.
ลอสแอนเจลิสไทมส์
ลอสแอนเจลิสไทมส์ (Los Angeles Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ตีพิมพ์ในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่ปี..
ดู ปีเยิร์กและลอสแอนเจลิสไทมส์
ออลมิวสิก
ออลมิวสิก หรือก่อนหน้านี้เรียก ออลมิวสิกไกด์ เป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับดนตรี มีเจ้าของคือออลมีเดียไกด์ ก่อตั้งในปี 1991 โดยไมเคิล เออร์เลไวน์ เพื่อเป็นไกด์ให้กับผู้บริโภค ออกหนังสือใช้สำหรับอ้างอิงในปี 1992 และหลังจากนั้นเมื่อมีเวิลด์ไวด์เว็บขึ้น ก็มีในโกเฟอร์ เว็บไซต์ออลมิวสิก.คอม เปิดตัวเมื่อปี 1995 เพื่อเป็นเว็บสาธิตเกี่ยวกับฐานข้อมูลด้านลิขสิทธิ์เพลง และข้อมูลอื่น ๆ มากมาย ออลมิวสิกอ้างว่าเป็นฐานข้อมูลดิจิทัลเกี่ยวกับดนตรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเพลง 6 ล้านเพลง รวมถึงมีภาพปก ซึ่งมากกว่า 5 แสนปกทำการสแกนขึ้น ออลมิวสิกให้ข้อมูลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลแคตาล็อก ประวัติศิลปิน การวิจารณ์อัลบั้ม แนวเพลง ศิลปินใกล้เคียง เพลย์ลิสต์และข้อมูลของไอทูนส์มิวสิกสโตร์, ซูนมาร์เก็ตเพลส, อีมิวสิก, AOL, ยาฮู!, อเมซอน.คอม และเว็บสโตร์เกี่ยวกับเพลงต่าง.
ออลเทอร์นาทิฟ
ออลเทอร์นาทิฟ (alternative) อาจหมายถึง.
ออลเทอร์นาทิฟร็อก
ออลเทอร์นาทิฟร็อก (alternative rock) ในบางครั้งอาจเรียกว่า ออลเทอร์นาทิฟ (alternative) หรือ ออลต์ร็อก (alt rock) เป็นแนวเพลงร็อกที่เกิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1990 คำว่าออลเทอร์นาทิฟถูกคิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 อธิบายถึงแนวเพลงได้รับแรงบันดาลใจจากพังก์ร็อก โดยอยู่ค่ายเพลงอิสระ ที่ไม่ได้อยู่ในกระแสนิยมในช่วงเวลานั้น ในความหมายทางด้านดนตรี ซึ่งเรียกสั้น ๆ ว่า "อินดี้" ออลเทอร์นาทิฟประกอบด้วยเพลงหลากหลายแนวรวมกันทั้งกรันจ์ บริตป็อป กอทิกร็อก และอินดี้ป็อป ที่ถูกรวมกันโดยลักษณะพื้นฐานของพังก์ที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญของดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อกในทศวรรษที่ 1980 ออลเทอร์นาทิฟยุคแรก ๆ ถือกำเนิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา คริสต์ทศวรรษ 1970 ในนามของวงพังก์ร็อกคือวงเดอะ ราโมนส์ ก่อนที่จะมาเป็นออลเทอร์นาทิฟเต็มตัวและแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยมีวงอาร์.อี.เอ็ม.
ดู ปีเยิร์กและออลเทอร์นาทิฟร็อก
ออลเทอร์นาทิฟแดนซ์
ออลเทอร์นาทิฟแดนซ์ (alternative dance) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมองค์ประกอบของดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อก โดยจะรวมดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์อย่างเทคโนและดนตรีเฮาส์ไว้ด้วย ออลเทอร์นาทิฟแดนซ์ได้รับอิทธิพลจากศิลปินแนวออลเทอร์นาทิฟร็อกในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 อย่างนิวออร์เดอร.
ดู ปีเยิร์กและออลเทอร์นาทิฟแดนซ์
อิเล็กทรอนิกา
อิเล็กทรอนิกา (electronica) เป็นคำที่ใช้รวมกับแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์หลายประเภท เช่น เทคโน เฮาส์ แอมเบียนต์ ดรัมแอนด์เบส จังเกิล อินดัสเทรียลแดนซ์ และท่ามกลางแนวดนตรีอื่น มันถูกนำมาใช้เพื่ออธิบายรูปแบบดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้จัดเป็นเพียงแค่เพลงเต้นรำ แต่ยังเน้นในการฟังเพลงมากกว.
จังหวะชีวิต ลิขิตด้วยเพลง
ังหวะชีวิต ลิขิตด้วยเพลง เป็นชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง "Dancer in the Dark" ภาพยนตร์เพลง/ดรามา ที่กำกับและเขียนบทโดยลาร์ส ฟอน เทรียร์ นำแสดง ร้องและแต่งเพลงประกอบโดยปีเยิร์ก เป็นภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายในไตรภาค "หัวใจทองคำ" (Golden Heart Trilogy) ของลาร์ส ฟอน เทรียร์ ต่อจากเรื่อง Breaking the Waves (1996) และ The Idiots (1998) ภาพยนตร์ถ่ายทำด้วยกล้องวิดีโอดิจิตอลโดยใช้แสงธรรมชาติ ไม่มีการจัดแสงใดๆ ใช้เทคนิคที่เรียกว่า Cinéma vérité ทำให้ได้ภาพสั่นไหว ภาพยนตร์ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ประจำปี 2000 และได้รับรางวัลปาล์มทองคำ นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ปีเยิร์ก) ผู้กำกับยอดเยี่ยม (ฟอน เทรียร์) ประจำปีนั้น ท่ามกลางความอื้อฉาว เนื่องจากผู้ชมจำนวนมากเดินออกจากโรงภาพยนตร์ระหว่างการฉาย เนื่องจากทนไม่ได้กับภาพที่สั่นไหวจากการถ่ายทำด้วยกล้องมือถือ นอกเหนือจากเพลงประกอบของปีเยิร์กแล้ว ในภาพยนตร์ยังประกอบด้วยเพลงสามเพลงของร็อดเจอร์สและแฮมเมอร์สไตน์ จากเรื่องมนต์รักเพลงสวรรค์ คือเพลง "My Favorite Things" ที่เธอร้องขณะกำลังจะถูกประหารชีวิต นอกจากนี้ เพลง "I've Seen It All" ในภาพยนตร์ ยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาเพลงประกอบยอดเยี่ยม อัลบัมดนตรีประกอบภาพยนตร์ ใช้ชื่ออัลบัมตามตัวละครเอกว่า Selmasongs.
ดู ปีเยิร์กและจังหวะชีวิต ลิขิตด้วยเพลง
ทริปฮอป
ทริปฮอป เป็นแนวเพลงย่อยที่ประกอบด้วยดนตรีดาวน์เทมโป อิเล็กทรอนิกส์ที่มีต้นกำเนิดในช่วงต้นในทศวรรษที่ 1990 ในสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่บริสตอล เพราะอันเกิดมาจาก "หลังยุค" ดนตรีแอซิดเฮาส์ คำว่าทริปฮอปได้ใช้ครั้งแรกในสื่อดนตรีอังกฤษ และอธิบายถึงของดนตรีทดลองที่แตกต่างจากเบรกบีต ซึ่งได้รับอิทธิพลจากดนตรี โซล ฟังก์ และแจ๊ส ตามที่พจนานุกรมของเว็บสเตอร์ (Webster's Dictionary) คำนี้ถูกใช้ครั้งแรกในปี 1989 สารานุกรมบริตานิกาออนไลน์ (Encyclopædia Britannica Online) ยังอ้างว่าคำนี้ได้ใช้ใน มิกซ์แมก (Mixmag) เป็นนิตยสารของอังกฤษที่เชี่ยวชาญในดนตรีแดนซ์ ได้รับการอธิบายว่า "ทางเลือกของยุโรปช่วงครึ่งหลังของยุค 90" และ"ฟิวชันของฮิปฮอปและอิเล็กทรอนิกา จนกระทั่งแนวเพลงไม่ใช่ทั้งสองอย่างที่รู้จัก" ดนตรีทริปฮอป รวมดนตรีหลายสไตล์ และมีแนวอื่นมากขึ้นเช่นเดียวกัน อาจมีลักษณะที่คล้ายอย่างมากกับดนตรีแอมเบียนต์ ที่มีเสียงกลองจากเบรตดาวน์ ที่มีส่วนกับลักษณะของฮิปฮอปในประเทศสหรัฐอเมริกา และยังมีองค์ประกอบของ เฮาส์ แดนซ์ ดับ เรกเก้ ทริปฮอป ยังสามารถเป็นดนตรีทดลองได้อย่างมากในธรรมชาต.
ทอม ยอร์ก
ทอมัส เอ็ดเวิร์ด "ทอม" ยอร์ก (Thomas Edward "Thom" Yorke) เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..
ดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์
นตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ ในบางครั้งเีรียกว่า ไอดีเอ็ม (IDM) หริอ เบรนแดนซ์ (Braindance) เป็นคำที่อธิบายแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษ 1990 แต่เดิมแนวเพลงได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาในดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เช่น ดีทรอยต์เทคโน และเบรกบีตหลากหลายรูปแบบที่เกิดขึ้นใหม่ในสหราชอาณาจักรในช่วงเวลานั้น"The electronic listening music of the Nineties is a prime example of an art form derived from and stimulated by countless influences.
ดู ปีเยิร์กและดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์
ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์
นตรีอิเล็กทรอนิกส์ (electronic music) เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมา โดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสามารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้า"The stuff of electronic music is electrically produced or modified sounds.
ดู ปีเยิร์กและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์
ดนตรีทดลอง
Moodswinger, Yuri Landman ดนตรีทดลอง (Experimental music) ในงานเขียนภาษาอังกฤษ มีความหมายถึงรูปแบบการจัดวางดั้งเดิมที่เกิดขึ้นในกลางศตวรรษที่ 20 โดยมากในอเมริกาเหนือที่หมายถึง การประพันธ์ดนตรีในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่ได้ผลมาแบบไม่สามารถคาดเดาได้ มีชื่อเสียงอย่างมากและมีผู้สนับสนุนอันมีอิทธิพลอย่าง จอห์น เคจ ส่วนในความหมายหลวม ๆ แล้ว คำว่า "ทดลอง" (experimental) ใช้เป็นตัวเชื่อมกับชื่อแนวเพลงที่อธิบายถึงดนตรีในทางเฉพาะที่ดันขอบเขตหรือนิยามหรืออย่างอื่นซึ่งเป็นสไตล์ลูกผสมที่แตกต่างอย่างมาก หรือแนวรวมแบบนอกคอก หรือส่วนผสมที่โดดเด่นแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด ความโดดเด่นของดนตรีทดลองเด่นชัดขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 ที่อธิบายถึงการประพันธ์โดยการควบคุมของคอมพิวเตอร์ ซึ่งในบางครั้งก็จะใช้เรียกว่า ดนตรีอีเลกโทรนิก และ musique concrète คำว่าดนตรีทดลองนั้น ได้ใช้โดยสื่อมวลชน ที่คำทั่วไปที่หมายถึง การขัดคอกันของดนตรีที่แยกมาจากดนตรีปกติดั้งเดิม.
ดนตรีคลาสสิก
วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.
ประเทศไอซ์แลนด์
อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..
แจ๊ส
แจ๊ส เป็นลักษณะดนตรีชนิดหนึ่งที่พัฒนามาจากกลุ่มคนดำในสหรัฐอเมริกา (African Americans) ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีลักษณะพิเศษคือโน้ตบลูส์ การลัดจังหวะ จังหวะสวิง การโต้และตอบทางดนตรี และการเล่นสด โดยแจ๊สถือเป็นลักษณะดนตรีคลาสสิกชนิดหนึ่งของสหรัฐอเมริก.
โพสต์พังก์
ต์พังก์ (post-punk) เป็นแนวพังก์ร็อกที่เกิดขึ้นปลายทศวรรษที่ 70 เกิดขึ้นหลังพังค์ร็อกได้รับความนิยมในทศวรรษที่ 70 มีการหยิบซาวนด์มาทดลองมากกว่า อย่างเช่น ซาวนด์ของอิเล็กทรอนิกส์ เร้กเก้ แอฟริกันบีต แจ๊ส โฟล์ค เข้าไปใช้ โพสต์พังก์ได้รับความนิยมมากเมื่อประมาณปี 1977-1984 อย่าง ทอล์คกิ้ง เฮด เป็นต้น วงโพสต์พังก์รุ่นใหม่ เช่น เดอะ ฟิวเจอร์เฮดส์, ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์, เดอะ สโตรคส์ เป็นต้น.
เรคยาวิก
รคยาวิก (Reykjavík, IPA: ˈreiːcaˌviːk) เป็นเมืองหลวงของประเทศไอซ์แลนด์ และเป็นเมืองหลวงที่ตั้งอยู่ใกล้กับขั้วโลกเหนือมากที่สุด โดยตั้งอยู่ไม่ไกลจากเส้นอาร์กติกเซอร์เคิลมากนัก ทำเลที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศไอซ์แลนด์ ด้านมุมล่างของอ่าว Faxaflói ซึ่ง Ingolfur Arnarson ชาวนอร์ดิค เป็นผู้อพยพคนแรกที่มาตั้งรกรากที่เรคยาวิกในปี..
เฮาส์ (แนวดนตรี)
() เป็นแนวเพลงหนึ่งของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เกิดในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 โดยมีต้นกำเนิดมาจากเมืองชิคาโก รัฐอิลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา แรกเริ่มเดิมทีเป็นที่นิยมในดิสโก้เทคสำหรับชาวแอฟริกัน-อเมริกัน, ละตินอเมริกันและสังคมเกย์ในสมัยกลางทศวรรษที่ 1980 ที่เมืองชิคาโก ต่อมาจึงกระจายความนิยมไปยังนิวยอร์ก, นิวเจอร์ซีย์, ดีทรอยต์และไมอามี จนกระทั่งถึงยุโรปก่อนจะมีบทบาทสำคัญแก่แนวเพลงป็อปและเพลงแดนซ์ทั่วโลก แนวดนตรีเฮาส์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากองค์ประกอบของดนตรีโซลและฟังก์ในช่วงกลางยุค 1970 เฮาส์มีลักษณะโดดเด่นในการนำเอาการเคาะเพอคัสชั่น (percussion) แบบดิสโก้มาใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ดรัมเบสในทุก ๆ บีต (beat) แล้วพัฒนาเป็นแนวดนตรีแนวใหม่โดยผสมไลน์เบสของเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเล็กทรอนิก, กลองอิเล็กทรอนิก, เอฟเฟกต์อิเล็กทรอนิก,แซมเปิลฟังก์และป็อป รวมไปถึงการใช้เสียงก้องและเสียงร้องดีเล.
ดู ปีเยิร์กและเฮาส์ (แนวดนตรี)
เดอะชูการ์คิวส์
อะชูการ์คิวส์ (The Sugarcubes) เป็นวงอัลเทอร์เนทีฟร็อกจากไอซ์แลนด์นักร้องนำของวงซึ่งก็คือ ปีเยิร์ก ก่อตัวขึ้นในปี 1986 และแยกวงในปี 1992 พวกเขาได้รับเสียงวิจารณ์ชื่นชมและความเป็นที่นิยมในระดับสากล.
เดอะการ์เดียน
อะการ์เดียน (The Guardian) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันฝ่ายซ้ายกึ่งสายกลางแห่งชาติอังกฤษ ก่อตั้งใน..
21 พฤศจิกายน
วันที่ 21 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 325 ของปี (วันที่ 326 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 40 วันในปีนั้น.
808 สเตต
808 สเตต (808 State เอท-โอ-เอทสเตต) เป็นวงดนตรีอีเลกโทรนิกสัญชาติอังกฤษ ก่อตั้งในปี 1988 โดย Graham Massey, Andrew Barker, และ Darren Partington และ A Guy Called Gerald ใน, แมนเชสเตอร์, ประเทศอังกฤษ มีอัลบั้มแรกชื่อ Newbuild ในปี 1988 อัลบั้มต่อมาคือ Ninety ในปี 1989 และ Ex:el ในปี 1991 เคยร่วมงานกับนักร้องดังเช่น ปีเยิร์ก, เบอร์นาร์ด ซัมเนอร์, แห่งวง นิว ออร์เดอร.
ดูเพิ่มเติม
นักดนตรีป็อปเด็ก
- คอนนี ทัลบอต
- จัสติน บีเบอร์
- ชอว์น เมนเดส
- ปีเยิร์ก
- มอริซ กิบบ์
- ลอร์ด (นักร้อง)
- ลิซา สแตนส์ฟิลด์
- โรบิน กิบบ์
นักดนตรีแดนซ์
- ปีเยิร์ก
- รีแอนนา
- เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโก
- ไดอานา คิง
นักร้องเสียงโซปราโน
- ซีตี นูร์ฮาลีซา
- ปีเยิร์ก
- โซปราโน
นักเคลื่อนไหวชาวไอซ์แลนด์
- ปีเยิร์ก
ศิลปินสังกัดอีเล็คตร้าเรเคิดส์
- MC5
- ครัฟท์แวร์ค
- คริสตัล เกล
- ควีน
- คาร์ลี ไซมอน
- จิม มอร์ริสัน
- ซิมพลีเรด
- ดิ ออสมอนด์ส
- ดี-ไลต์
- นาตาลี โคล
- นิน่า ซิโมน
- บรูโน มาส์
- ปีเยิร์ก
- พับลิกอิมเมจลิมิเต็ด
- พิกซีส์
- มอตลีย์ครู
- มาร์ก รอนสัน
- มิสซี เอลเลียต
- เจน ฟอนดา
- เจสัน มแรซ
- เฉินหลง
- เดล แชนนอน
- เดวิด เกตส์
- เดอะดอส์
- เดอะบรีดเดอส์
- เดอะเคียวร์
- เดอะเฮาส์มาร์ตีนส์
- เดอะโพรดิจี
- เทรซี แชปแมน
- เมทัลลิกา
- เยส
- เอซี/ดีซี
- เอตตา เจมส์
- เอ็ด ชีแรน
- แจ็กสัน บราวน์
- แมคคอย ไทเนอร์
- แอนแทรกซ์ (วงดนตรี)
- แฮร์รี แชพิน
- โมบี้
- ไอรีน คารา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Björkบียอร์ก