สารบัญ
2 ความสัมพันธ์: การรับรู้ระดับเชาวน์ปัญญา
- ความพิการทางการเรียน
การรับรู้
ลูกบาศก์เนกเกอร์และแจกันรูบินสามารถมองเห็น/รับรู้ได้มากกว่า 1 แบบ การรับรู้ หรือ สัญชาน (Perception จากคำภาษาละตินว่า perceptio) เป็นการจัดระเบียบ ระบุ และแปลผลข้อมูลจากประสาทสัมผัสเพื่อใช้เป็นแบบจำลองและเข้าใจข้อมูลหรือโลกรอบ ๆ ตัว การรับรู้ทุกอย่างจะต้องเกี่ยวกับสัญญาณประสาทที่ส่งไปยังระบบประสาท โดยสัญญาณก็จะเป็นผลของการเร้าระบบรับความรู้สึกทางกายภาพหรือทางเคมี ยกตัวอย่างเช่น การเห็นจะเกี่ยวกับแสงที่มากระทบจอตา การได้กลิ่นจะอำนวยโดยโมเลกุลที่มีกลิ่น และการได้ยินจะเกี่ยวกับคลื่นเสียง การรับรู้ไม่ใช่เป็นเพียงแค่การรับสัญญาณทางประสาทสัมผัสเฉย ๆ แต่จะได้รับอิทธิพลจากการเรียนรู้ ความทรงจำ ความคาดหวัง และการใส่ใจของบุคคลนั้น ๆ การรับรู้สามารถแบ่งเป็นสองส่วน คือ.
ระดับเชาวน์ปัญญา
ระดับเชาวน์ปัญญา หรือ ไอคิว (IQ ย่อจาก Intelligence quotient) หมายถึง ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง ไอคิว เป็นศักยภาพทางสมองที่ติดตัวมาแต่กำเนิด เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก ไอคิว สามารถวัดออกมาเป็นค่าสัดส่วนตัวเลขที่แน่นอนได้.
ดู ปัญญาอ่อนและระดับเชาวน์ปัญญา
ดูเพิ่มเติม
ความพิการทางการเรียน
- กลุ่มอาการเรตต์
- กลุ่มอาการแองเกลแมน
- ความพิการทางการเรียน
- ปัญญาอ่อน
- ภาวะสมองเสื่อม
- โรคซนสมาธิสั้น
- โรคออทิซึม
- โรคอัลไซเมอร์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Intellectual disabilityMental retardationRetardationภาวะสติปัญญาบกพร่องภาวะปัญญาอ่อนสติปัญญาบกพร่องความบกพร่องทางสติปัญญาความพิการทางสติปัญญา