สารบัญ
4 ความสัมพันธ์: กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติสิทธิมนุษยชนคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
- ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
- ตราสารสิทธิมนุษยชน
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ม่ได้ลงนามและไม่ได้ให้สัตยาบัน กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) หรือ ICCPR เป็นสนธิสัญญาพหุภาคี ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..
ดู ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
มัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) เป็นองค์กรที่มีอำนาจมากที่สุดและเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ เป็นเพียงองค์กรเดียวของสหประชาชาติที่ตัวแทนของแต่ละประเทศสมาชิกมีสิทธิและฐานะเท่าเทียมกัน สมัชชาใหญ่มีหน้าที่ตรวจสอบงบประมาณและการใช้จ่ายในโครงการของสหประชาชาติ แต่งตั้งสมาชิกไม่ถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง รับรายงานจากทั่วทุกมุมโลกเพื่ออภิปรายและให้ความเห็น ตลอดจนจัดตั้งองค์กรลูกต่างๆมากมายของสหประชาชาติ การประชุมสมัชชาใหญ่ครั้งแรกมีขึ้นในวันที่ 10 มกราคม..
ดู ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
สิทธิมนุษยชน
ทธิมนุษยชน (human rights) เป็นหลักทางศีลธรรมหรือจารีตJames Nickel, with assistance from Thomas Pogge, M.B.E. Smith, and Leif Wenar, December 13, 2013, Stanford Encyclopedia of Philosophy,, Retrieved August 14, 2014ซึ่งอธิบายมาตรฐานตายตัวของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองสม่ำเสมอเป็นสิทธิทางกฎหมายในกฎหมายท้องถิ่นและกฎหมายระหว่างประเทศ ปกติเข้าใจว่าเป็นสิทธิพื้นฐานที่ไม่โอนให้กันได้ "ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเพียงเพราะผู้นั้นเป็นมนุษย์" และซึ่ง "มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน"Burns H.
ดู ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและสิทธิมนุษยชน
คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
ณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (United Nations Human Rights Council; ย่อ: UNHRC) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลในระบบสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นแทนหน่วยงานเดิม คือ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on Human Rights หรือ UNCHR) และสังกัดสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีทำงานใกล้ชิดกับสำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชน และมีส่วนร่วมในระเบียบวาระพิเศษ (special procedures) ของสหประชาชาติ ด้วยข้อมติ A/RES/60/251 เมื่อวันที่ 15 มีนาคม..
ดู ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
ดูเพิ่มเติม
ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
- ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 2758
- ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 67/19
- ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 68/262
- ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ตราสารสิทธิมนุษยชน
- กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- การประกาศเลิกทาส
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
- ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ UDHRUniversal Declaration of Human Rightsคำประกาศสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนคำประกาศสิทธิมนุษยชนสากลปฏิญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน