เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 68/262

ดัชนี ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 68/262

้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 68/262 (United Nations General Assembly Resolution 68/262) ได้รับความเห็นชอบในสมัยประชุมที่ 68 ของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2014 หลังจากรัสเซียผนวกไครเมีย ข้อมติซึ่งไม่มีผลผูกพันนี้มีชื่อว่า "บูรณภาพแห่งดินแดนยูเครน" (Territorial Integrity of Ukraine) ได้รับเสียงสนับสนุนจากรัฐสมาชิกสหประชาชาติ 100 รัฐ มีผลเป็นการยืนยันพันธกิจของสมัชชาใหญ่ในบูรณภาพแห่งดินแดนของยูเครนตามเขตแดนที่นานาชาติรับรอง และเน้นย้ำความเป็นโมฆะของการลงประชามติเกี่ยวกับไครเมียเมื่อ ค.ศ.

สารบัญ

  1. 3 ความสัมพันธ์: การลงประชามติว่าด้วยสถานภาพของไครเมีย พ.ศ. 2557สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

  2. การผนวกไครเมียโดยสหพันธรัฐรัสเซีย
  3. ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
  4. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของประเทศยูเครน
  5. ประเทศยูเครนในปี พ.ศ. 2557

การลงประชามติว่าด้วยสถานภาพของไครเมีย พ.ศ. 2557

แบบลงประชามติ การลงประชามติว่าด้วยสถานภาพของไครเมียจัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2557 โดยสภานิติบัญญัติไครเมีย ตลอดจนรัฐบาลท้องถิ่นเซวัสโตปอล ซึ่งทั้งสองเป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศยูเครน การลงประชามตินี้ถามประชาชนของทั้งสองเขตว่า คุณจะรวมไครเมียกับรัสเซียเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐรัสเซีย หรือคุณต้องการฟื้นฟูรัฐธรรมนูญยูเครนปี 2535 และสถานภาพของไครเมียโดยเป็นส่วนหนึ่งของยูเครน ตัวเลือกที่มีอยู่นั้นไม่รวมการรักษาสถานะเดิมของไครเมียและเซวัสโตปอลขณะที่จัดการลงประชามติ นักวิจารณ์หลายคนแย้งว่า ทั้งสองตัวเลือกล้วนส่งผลให้เกิดเอกราชโดยพฤตินัย หลังการลงมติ ทางการชี้ว่า ผู้ออกเสียงกว่า 96% สนับสนุนตัวเลือกเข้าร่วมกับประเทศรัสเซีย โดยมีผู้มาใช้สิทธิกว่า 80% มีรายงานว่า บุคคลสามารถออกเสียงลงคะแนนได้หลายครั้งและบุคคลออกเสียงลงคะแนนได้แม้บุคคลนั้นไม่ได้เป็นชาวไครเมีย โดยมีผู้มาใช้สิทธิเกิน 100% ในบางพื้นที่ วันที่ 17 มีนาคม รัฐสภาไครเมียและนครเซวัสโตปอลออกคำประกาศอิสรภาพไครเมียและเซวัสโตปอล แสดงความตั้งใจเข้าร่วมกับประเทศรัสเซียในระหว่างผลสนับสนุนในการลงประชามติ โลกตะวันตกประณามการลงประชามตินี้อย่างกว้างขวางในเรื่องความชอบธรรมและเหตุการณ์แวดล้อม สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกาและอีกหลายชาติประณามการตัดสินใจจัดการลงประชามติ มาฮ์จิสชาวตาตาร์ไครเมีย สมาคมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการของชาวตาตาร์ไครเมีย เรียกร้องการคว่ำบาตรการลงประชามตินี้ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติไม่สามารถผ่านข้อมติในการประกาศให้การลงประชามตินี้ไม่สมบูรณ์ เพราะประเทศรัสเซียใช้สิทธิยับยั้งในฐานะสมาชิกถาวรของคณะมนตรีฯ สมาชิกสิบสามประเทศลงมติเห็นชอบข้อมติ และหนึ่งประเทศงดออกเสียง สาธารณรัฐไครเมียประกาศเอกราชจากประเทศยูเครนในวันรุ่งขึ้น โดยเริ่มแสวงการรับรองจากองค์การสหประชาชาติ และร้องขอเข้าร่วมกับสหพันธรัฐรัสเซีย ในวันเดียวกัน ประเทศรัสเซียรับรองว่าไครเมียเป็นรัฐเอกร.

ดู ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 68/262และการลงประชามติว่าด้วยสถานภาพของไครเมีย พ.ศ. 2557

สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

มัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) เป็นองค์กรที่มีอำนาจมากที่สุดและเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ เป็นเพียงองค์กรเดียวของสหประชาชาติที่ตัวแทนของแต่ละประเทศสมาชิกมีสิทธิและฐานะเท่าเทียมกัน สมัชชาใหญ่มีหน้าที่ตรวจสอบงบประมาณและการใช้จ่ายในโครงการของสหประชาชาติ แต่งตั้งสมาชิกไม่ถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง รับรายงานจากทั่วทุกมุมโลกเพื่ออภิปรายและให้ความเห็น ตลอดจนจัดตั้งองค์กรลูกต่างๆมากมายของสหประชาชาติ การประชุมสมัชชาใหญ่ครั้งแรกมีขึ้นในวันที่ 10 มกราคม..

ดู ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 68/262และสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.

ดู ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 68/262และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ดูเพิ่มเติม

การผนวกไครเมียโดยสหพันธรัฐรัสเซีย

ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของประเทศยูเครน

ประเทศยูเครนในปี พ.ศ. 2557

หรือที่รู้จักกันในชื่อ คำสั่งเลขที่ 68/262 ของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ