โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บู๊ วิบูลย์นันท์

ดัชนี บู๊ วิบูลย์นันท์

ู๊ วิบูลย์นันท์ บู๊ วิบูลย์นันท์เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2479 เป็นนักแสดงอาวุโส มีผลงานแสดง รับบทตลกและบทร้ายในภาพยนตร์หลายเรื่อง บุคลิกประจำตัวคือเป็นเจ้าสัวร่างอ้วนอารมณ์ดี จนได้เป็นพรีเซ็นเตอร์โฆษณาร้านอาหารเรือนเพชรสุกี้ยากี้ทางโทรทัศน์ เคยกำกับภาพยนตร์เรื่อง "เพชรมหากาฬ" เมื่อ..

37 ความสัมพันธ์: ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านสาวโสดพ.ศ. 2479พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณฝนใต้รางวัลเมขลาลิ้นหัวใจสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สงครามเก้าทัพทองประกายแสดดาวเรือง (ละครโทรทัศน์)ปราสาทมืดนางทาสไฟโชนแสงเขาวานให้หนูเป็นสายลับ

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

บ้านสาวโสด

้านสาวโสด เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และบ้านสาวโสด · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ

รุ่งนี้ฉันจะรักคุณ เป็นนวนิยายไทย ผลงานการเขียนของ สุวรรณี สุคนธา เป็นนวนิยายประเภทโรแมนติก ที่ได้สร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง เป็นเรื่องราวของนิอร ถูกแท็กซี่ที่นั่งไปโปะยาสลบ นนท์ผ่านมาเห็นเหตุการณ์จึงได้ช่วยไว้ แต่นิอรสลบเมื่อตื่นขึ้นมาเห็นว่าตัวเองอยู่ในโรงแรมก็เข้าใจผิด นิอรเล่าให้สุภัคฟังเพียงว่าถูกพาเข้าโรงแรม นนท์พยายามตามหานิอรเพื่อบอกความจริง ประนาทพี่ของนิอรมาเยี่ยม ได้พบกับสุภัคและพอใจสุภัคแต่ไม่กล้าบอก นนท์พยายามใกล้ชิดนิอร แต่เธอบ่ายเบี่ยงตลอด จึงเข้าทางสุภัคจึงแกล้งชอบสุภัค แต่ก็ยังไม่บอกความจริงแก่นิอร เนวินเศรษฐีน้ำมันชอบพอนิอรถึงขั้นจะหมั้นกัน นนท์จึงประกาศหมั้นสุภัค ทำให้ประนาทและนิอรตกใจ วันแต่งงานสุภัคและนนท์ นนท์กลับพานิอรหนีการแต่งงาน ประนาทจึงขอสุภัคแต่งงานแทน นนท์สารภาพนิอรถึงวันที่เจอที่โรงแรมว่าไม่ได้มีอะไรกันและนิอรก็บอกกับสุภัคว่าชายที่เธอเจอคือนนท์ ทั้งนิอรและนนท์ก็เข้าใจกันรวมถึงประนาทและสุภัคด้วย พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ได้ถูกนำไปทำเป็นภาพยนตร์ 3 ครั้ง ได้แก่ปี พ.ศ. 2515, พ.ศ. 2523, พ.ศ. 2532 และถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 3 ครั้ง ได้แก่ปี พ.ศ. 2525 ทางช่อง 3, พ.ศ. 2536 ทางช่อง 5 พ.ศ. 2542 ทางช่อง 7.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และพรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ · ดูเพิ่มเติม »

ฝนใต้

ฝนใต้ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2513 สร้างจากบทประพันธ์ของ เทอด ธรณินทร์ กำกับการแสดงโดย ฉลอง ภักดีวิจิตร นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี และ เพชรา เชาวราษฎร์ โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ได้นำนักร้องลูกทุ่งชื่อดังเช่น กังวาลไพร ลูกเพชร เพลิน พรหมแดน มาร่วมแสดง ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และฝนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเมขลา

รางวัลเมขลา ผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ รางวัลเมขลา เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดขึ้นโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2523 จนถึง พ.ศ. 2547 และได้มีการจัดงานขึ้นอีกครั้งหลังจากหายไป 6 ปี โดยจัดขึ้นในปี 2555 เป็นต้นมา ซึ่งถือเป็นการจัดครั้งที่ 24 และพิจารณาผลงานละครประจำปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และรางวัลเมขลา · ดูเพิ่มเติม »

ลิ้นหัวใจ

ลิ้นหัวใจ (heart valve) มีหน้าที่ควบคุมการไหลเวียนของเลือดภายในหัวใจ โดยปกติแล้วลิ้นหัวใจจะควบคุมการไหลของเลือดให้ไปได้ในทิศทางเดียว คือไม่มีการไหลย้อนกลับของเลือดมายังทิศทางเดิม ลิ้นหัวใจแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ atrioventricular valves (AV valves) อยู่ระหว่างหัวใจห้องบนกับหัวใจห้องล่าง และ semilunar valves (SL valves) อยู่บริเวณหลอดเลือดอาร์เตอรีที่ออกจากหัวใจ การทำงานของลิ้นหัวใจ thumb.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และลิ้นหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเก้าทัพ

งครามเก้าทัพ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรพม่ากับราชอาณาจักรไทย หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ เวลานั้นบ้านเมืองอยู่ในช่วงผ่านศึกสงครามมาใหม่ ๆ ประจวบทั้งการสร้างบ้านแปลงเมือง รวมทั้งปราสาทราชวังต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2328 พระเจ้าปดุง กษัตริย์พม่า หลังจากบรมราชาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์อังวะแล้ว ทำสงครามรวบรวมเมืองเล็กเมืองน้อยรวมถึงเมืองประเทศราชให้เป็นปึกแผ่น แล้วก็ได้ยกกองกำลังเข้ามา โดยมีจุดประสงค์ทำสงครามกับกรุงรัตนโกสินทร์ สงครามครั้งนี้พระเจ้าปดุงได้ยกทัพมาถึง 9 ทัพ รวมกำลังพลมากถึง 144,000 นาย โดยแบ่งการเข้าโจมตีกรุงรัตนโกสินทร์ออกเป็น 5 ทิศทาง.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และสงครามเก้าทัพ · ดูเพิ่มเติม »

ทองประกายแสด

ทองประกายแสด เป็นบทประพันธ์ของ สุวรรณี สุคนธา เป็นเรื่องราวของ "ทองดี" หรือ ทองประกาย ที่มีความใฝ่ฝันถึงชื่อเสียง เงินตรา เกียรติยศ มีจุดกำเนิดจากเด็กสาวในร้านขายของชำ มุ่งสู่เมืองหลวง ที่เธอคิดว่ามีสิ่งดีๆ รออยู่ จากเสน่ห์และความสวยงามที่มี จึงมีผู้ชายมากมายเข้ามาในชีวิต เธอใช้พวกเขาเหล่านั้นเพื่อเป็นบันไดแห่งชีวิตสู่การเป็นคุณทองประกายที่เลิศหรูและร่ำรวย นวนิยายเรื่อง ทองประกายแสด ได้มีการสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ถึง 6 ครั้ง โดยเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง และละคร 4 ครั้ง โดยผู้รับบท ทองประกาย ในภาพยนตร์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2517 คือ วันทนา บุญบันเทิง และภาพยนตร์ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2531 คือ ชุดาภา จันทเขตต์ ส่วนผู้รับบททองประกายในละครโทรทัศน์ ได้แก่ รัชนี จันทรังษี, วิยะดา อุมารินทร์, ธัญญาเรศ รามณรงค์ และ สาวิก.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และทองประกายแสด · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเรือง (ละครโทรทัศน์)

วเรือง เป็นบทประพันธ์ของ ทมยันตี ถูกนำมาสร้างเป็นครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ ออกฉายในปี..

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และดาวเรือง (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทมืด

ปราสาทมืด เป็นบทประพันธ์ของจุลลดา ภักดีภูมินทร์ เป็นเรื่องราวของหม่อมเจ้าหญิงผู้สูงศักดิ์ผู้หลบหนีหม่อมแม่ที่จะแต่งงาน มาเป็นพีเลี้ยงของ "คุณแจ๋ว" น้องสาวพิการของคุณหมอภรตผู้เฉยชาในปราสาทใหญ่แต่เต็มไปด้วยเรื่องลึกลับ เธอได้รับการปองร้ายจากแม่บ้าน "ป้าแช่ม" และลูกสาวคือ "กัญญา" โดยมีคุณหมอภะรตคอยช่วยเหลือจนสนิทสนมและแอบหลงรักกัน รวมทั้งยังได้รู้จักอีกทั้งไปมาหาสู่กับ “ศุลีมาศ” และ “วิษณุ” เจ้าของ ไร่สองพี่น้อง” กับ "พระองค์เจ้ารวิศักดิ์".

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และปราสาทมืด · ดูเพิ่มเติม »

นางทาส

นางทาส (หรือ นางทาษ) เป็นเรื่องสั้นขนาดยาวของ วรรณสิริ ผู้ประพันธ์เรื่อง วนิดา และนางครวญ ตีพิมพ์ครั้งแรกอยู่ใน รวมเรื่องสั้นชุด "สร้อยนพเก้า" ของวรรณสิริ และได้รับความนิยม ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายครั้ง พร้อมกับมีการแต่งเติมเรื่องราวเพิ่มเติม ในการพิมพ์ครั้งต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อหนังสือเป็น รวมเรื่องสั้นชุด "นางทาส" ภาพยนตร์ นางทาษ ฉบั..

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และนางทาส · ดูเพิ่มเติม »

ไฟโชนแสง

ฟโชนแสง (2552) ละครโทรทัศน์ไทยแนวชีวิต ความยาว 14 ตอน ออกอากาศทางช่อง 3 ทุกวันพุธ-พฤหัสบดี เวลา 20.30-22.30 น. ตั้งแต่วันพุธที่ 29 ก..- วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน 2552 กำกับการแสดงโดย สมจริง ศรีสุภาพ บทโทรทัศน์โดย ประไพศรี ศรีนาทม ดัดแปลงจากบทประพันธ์เดิม "ไฟโชนแสง" ของ กรุง.ญ ฉัตร ผลิตโดย บริษัทกู๊ดฟีลลิ่ง จำกัด เรื่องราวของพี่น้องฝาแฝด 2 คนคือเทียนวรรณและวันทกานต์ ที่ต้องสูญเสียพ่อจากการถูกทรยศหักหลังโดยเพื่อนรัก นิสัยของพี่น้องคู่นี้จะแตกต่างกัน เทียนวรรณคนพี่จะเป็นคนเรียบร้อยไม่สู้คน ส่วนวันทกานต์คนน้องเป็นคนอารมณ์ร้อน แต่โดยเนื้อแท้แล้วเป็นคนดีด้วยกันทั้งคู่ วันทกานต์ต้องการล้างแค้นให้พ่อ และเอาชีวิตผู้สมคบคิดกันทำร้ายพ่อของตน คือนายอนันต์ผู้มีอิทธิพลกับนายณัฐ เพื่อนร่วมธุรกิจของพ่อ.

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และไฟโชนแสง · ดูเพิ่มเติม »

เขาวานให้หนูเป็นสายลับ

วานให้หนูเป็นสายลับ เป็นงานประพันธ์ของ พัดชา นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ในปี..

ใหม่!!: บู๊ วิบูลย์นันท์และเขาวานให้หนูเป็นสายลับ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »