สารบัญ
20 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2089พ.ศ. 2091พระมหาอุปราชพระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)มหาอุปราช (จัน)ราชวงศ์สุพรรณภูมิราชวงศ์อู่ทองรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยวัดโคกพระยาสมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระยอดฟ้าสมเด็จพระไชยราชาธิราชสมเด็จพระเจ้ารามราชาหัวเมืองเหนือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จดหมายเหตุวันวลิตท้าวศรีสุดาจันทร์ขุนวรวงศาธิราชคลองสระบัว
พ.ศ. 2089
ทธศักราช 2089 ใกล้เคียงกั.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และพ.ศ. 2089
พ.ศ. 2091
ทธศักราช 2091 ใกล้เคียงกั.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และพ.ศ. 2091
พระมหาอุปราช
ระมหาอุปราช เป็นตำแหน่งรัชทายาท พบในประเทศพม่า ล้านนา ลาว และสยาม.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และพระมหาอุปราช
พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)
ระศรีศิลป์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชประสูติแต่นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ มีพระเชษฐา 1 พระองค์ ได้แก่ พระยอดฟ้า ภายหลังการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ทรงได้รับการอุปการะจากสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเรื่อยมา จนกระทั่ง พระองค์มีพระชันษา 20 พรรษาได้คิดขบถขึ้นและนำไปสู่การสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อม.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และพระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)
มหาอุปราช (จัน)
มหาอุปราช (จัน) เป็นพระมหาอุปราชในรัชกาลขุนวรวงศาธิราช ทรงได้รับการอุปราชาภิเษกได้เพียงไม่กี่วันก็ถูกลอบปลงพระชนม.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และมหาอุปราช (จัน)
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือ ราชวงศ์สุวรรณภูมิ เป็นราชวงศ์ที่ 2 ที่ได้ครองอาณาจักรอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิมีอายุรวม 199 ปี.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และราชวงศ์สุพรรณภูมิ
ราชวงศ์อู่ทอง
ราชวงศ์อู่ทอง หรือ ราชวงศ์ละโว้-อโยธยา หรือ ราชวงศ์เชียงราย ทั้งหมดล้วนเป็นชื่อสมมุติที่นักประวัติศาสตร์ใช้เรียกราชวงศ์แรกที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา เพื่อความสะดวกในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา โดยกำหนดเอาพระนามตามตำนานของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ที่มีพระนามเดิมว่า "พระเจ้าอู่ทอง" มาเป็นชื่อราชวงศ์ แต่ความเป็นมาของราชวงศ์ดังกล่าวยังคงคลุมเครืออยู.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และราชวงศ์อู่ทอง
รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย
วัดโคกพระยา
วัดโคกพระยา เป็นวัดโบราณวัดหนึ่งที่มีหลักฐานกล่าวถึงในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ตั้งแต่สมัยเริ่มสถาปนาพระนครศรีอยุธยาเพราะเป็นสถานที่ใช้ในการสำเร็จโทษพระเจ้าแผ่นดินและพระบรมวงศานุวงศ์มาตั้งแต่แผ่นดินสมเด็จพระราเมศวรเป็นต้นม.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และวัดโคกพระยา
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
สมเด็จพระยอดฟ้า
มเด็จพระยอดฟ้า หรือ สมเด็จพระแก้วฟ้า (ประมาณ พ.ศ. 2079นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 97 – 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 98) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 14 แห่งกรุงศรีอยุธยาจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ สมเด็จพระยอดฟ้าเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชกับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 63-7 เสวยราชย์ตั้งแต..
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และสมเด็จพระยอดฟ้า
สมเด็จพระไชยราชาธิราช
มเด็จพระไชยราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 13 แห่งอาณาจักรอยุธยาในสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ หลังจากครองราชย์ได้ทรงเป็นผู้นำทัพออกรบปราบกบฏหัวเมืองอยู่เนือง.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และสมเด็จพระไชยราชาธิราช
สมเด็จพระเจ้ารามราชา
มเด็จพญารามเจ้า หรือ สมเด็จพระเจ้ารามราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 5 แห่งอาณาจักรอยุธยา ครองราชย์ระหว่าง..
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และสมเด็จพระเจ้ารามราชา
หัวเมืองเหนือ
มืองเหนือ หรือ หัวเมืองเหนือ มีความหมายต่างกันในด้านเงื่อนไขเวลา ดังนี้.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และหัวเมืองเหนือ
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
จดหมายเหตุวันวลิต
หมายเหตุวันวลิต เป็นจดหมายเหตุที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่งขึ้นด้วยภาษาฮอลันดาโดยนายเยเรเมียส ฟาน ฟลีต (Jeremais van Vliet) ชาวฮอลันดา เมื่อปี..
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และจดหมายเหตุวันวลิต
ท้าวศรีสุดาจันทร์
ท้าวศรีสุดาจันทร์ เป็นตำแหน่งพระสนมเอกตำแหน่งหนึ่งของพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา ซึ่งมาจากราชวงศ์อู่ทอง อีก 3 ตำแหน่งได้แก่ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์จากราชวงศ์พระร่วง ท้าวอินทรสุเรนทรจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ และท้าวอินทรเทวีจากราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช โดยใช้เป็นการแสดงพระราชอำนาจเหนือดินแดนสยามทั้งมวล หากพระชายาองค์ใดมีประสูติกาลพระราชโอรสที่จะสืบราชสมบัติ พระชายาองค์นั้นก็จะมีฐานะที่สูงกว่าพระชายาอื่นอีก 3 พระองค์พิเศษ เจียจันทร์พงษ.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และท้าวศรีสุดาจันทร์
ขุนวรวงศาธิราช
นวรวงศาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์ไทยบางท่านไม่นับว่าพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์เพราะถือว่าเป็นกบฏสมคบกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์แย่งชิงราชบัลลังก์จากพระยอดฟ้า อย่างไรก็ตาม ในพงศาวดารได้ระบุว่าพระองค์ได้ผ่านพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และขุนวรวงศาธิราช
คลองสระบัว
ลองสระบัว เป็นคลองสายหนึ่งทางทิศเหนือนอกเกาะเมือง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถือเป็นคลองสายประวัติศาสตร์ที่สำคัญเพราะเป็นลำคลองที่ทำการจับกุมขุนวรวงศาธิราชกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ขณะเสด็จไปเพนียดคล้องช้าง ทั้งยังเป็นคลองที่เป็นย่านการผลิตภาชนะดินเผา กระเบื้องมุงหลังคา และอิฐ มาแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.
ดู นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และคลองสระบัว
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ท้าวศรีสุดาจันทร์ (บุคคล)ท้าวศรีสุดาจันทร์ ในสมเด็จพระไชยราชาธิราชนางพญาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์