โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ธงชาติปาเลสไตน์

ดัชนี ธงชาติปาเลสไตน์

23px ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ (พ.ศ. 2491 - พ.ศ. 2501) สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ (علم فلسطين) มีที่มาจากธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ และ ใช้แทนประชาชนชาวปาเลสไตน์ในทาง (พฤตินัย) ตั้งแต่ พ.ศ. 2507.

33 ความสัมพันธ์: ฟิดาอีพ.ศ. 2452พ.ศ. 2454พ.ศ. 2459พ.ศ. 2460พ.ศ. 2491พ.ศ. 2501พ.ศ. 2507พ.ศ. 2531รัฐปาเลสไตน์รูปสามเหลี่ยมรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสหพันธรัฐอาหรับสีขาวสีดำสีแดงสีเขียวองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีธงชาติอิรักธงชาติจอร์แดนธงชาติซูดานธงการปฏิวัติอาหรับธงปาเลสไตน์ในอาณัติคอนสแตนติโนเปิลตราแผ่นดินของปาเลสไตน์ประเทศอิรักประเทศจอร์แดนปารีสปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)โดยพฤตินัยFlags of the World15 พฤศจิกายน

ฟิดาอี

ลงชาติของชาวปาเลสไตน์มีชื่อว่า "ฟิดาอี" (فِدَائِي‎) ซึ่งเป็นเพลงที่สภาแห่งชาติปาเลสไตน์ประกาศรับรองเป็นเพลงชาติเมื่อปี พ.ศ. 2539 เพื่อให้สอดคล้องตามคำประกาศเอกราชของชาวปาเลสไตน์ พ.ศ. 2531 มาตรา 31 ประพันธ์เนื้อร้องโดย ซาอิด อัล มูซายิน (Said Al Muzayin) (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ฟาตา อัล ทอว์รา - Fata Al Thawra) ทำนองโดยอาลี อิสมาเอล (Ali Ismael) นักดนตรีชาวอียิปต์ เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ "เพลงสรรเสริญการปฏิวัติปาเลสไตน์" ("Anthem of the Palestinian revolution") ก่อนหน้านี้นับตั้งแต่ พ.ศ. 2479 เป็นต้นมา ได้ถือกันว่าเพลงมอว์ตินี (مَوْطِنِي, Mawtini; แปลว่า "ถิ่นเกิดของข้า") เป็นเพลงประจำชนกลุ่มน้อยชาวปาเลสไตน์อย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเพลงนี้ประพันธ์เนื้อร้องโดยอิบราฮิม ทอว์กาน (Ibrahim Towqan) ทำนองโดยมุฮัมมัด ฟลาอีเฟล (Mohammad Flaifel).

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และฟิดาอี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปาเลสไตน์

แผนการแบ่งดินแดนของสหประชาชาติ รัฐปาเลสไตน์ (دولة فلسطين‎ Dawlat Filasṭin) เป็นรัฐที่ประกาศเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 1988 โดยสภาแห่งชาติขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ที่พลัดถิ่นในกรุงแอลเจียร์ ซึ่งเห็นชอบคำประกาศอิสรภาพปาเลสไตน์ฝ่ายเดียว รัฐปาเลสไตน์อ้างสิทธิ์เหนือดินแดนปาเลสไตน์ ซึ่งนิยามตามพรมแดนเมื่อปี 1967: "I would like to inform you that, before delivering this statement, I, in my capacity as President of the State of Palestine and Chairman of the Executive Committee of the Palestine Liberation Organization, submitted to H.E. Ban Ki-moon, Secretary-General of the United Nations, an application for the admission of Palestine on the basis of the 4 June 1967 borders, with Al-Kuds Al-Sharif as its capital, as a full member of the United Nations." และกำหนดเยรูซาเล็มเป็นเมืองหลวง พื้นที่ที่พรรณนาว่าจะประกอบเป็นรัฐปาเลสไตน์นั้นถูกอิสรเอลยึดครองตั้งแต่ปี 1967 การประชุดสุดยอดสันนิบาตอาหรับปี 1974 กำหนดให้องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์เป็น "ผู้แทนชาวปาเลสไตน์โดยชอบด้วยกฎหมายแต่ผู้เดียว" และยืนยันอีกครั้งถึง "สิทธิของพวกเขาในการสถาปนารัฐที่มีเอกราชอย่างเร่งด่วน" องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์ในสหประชาชาติเป็น "องค์การมิใช่รัฐ" (non-state entity) ตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน 1974 ซึ่งให้สิทธิพูดในสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียง หลังคำประกาศอิสรภาพ สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ "รับรอง" คำประกาศดังกล่าวอย่างเป็นทางการ และออกเสียงให้ใช้ชื่อ "ปาเลสไตน์" แทน "องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์" เมื่อเอ่ยถึงผู้สังเกตการณ์ถาวรปาเลสไตน์Hillier, 1998, (via Google Books).

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และรัฐปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

รูปสามเหลี่ยม

รูปสามเหลี่ยม (อังกฤษ: triangle) เป็นหนึ่งในร่างพื้นฐานในเรขาคณิต คือรูปหลายเหลี่ยมซึ่งมี หรือจุดยอด และมี 3 ด้านหรือขอบที่เป็นส่วนของเส้นตรง รูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอด A, B, และ C เขียนแทนด้วย ในเรขาคณิตแบบยุคลิด จุด 3 จุดใดๆ ที่ไม่อยู่ในเส้นตรงเดียวกัน จะสามารถสร้างรูปสามเหลี่ยมได้เพียงรูปเดียว และเป็นรูปที่อยู่บนระนาบเดียว (เช่นระนาบสองมิติ).

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และรูปสามเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า คือรูปสามเหลี่ยมชนิดหนึ่งที่ด้านทั้งสามมีความยาวเท่ากัน ในเรขาคณิตแบบยุคลิด รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมมุมเท่า (equiangular polygon) กล่าวคือ มุมภายในแต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมมีขนาดเท่ากันคือ 60° ด้วยคุณสมบัติทั้งสอง รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจึงจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมปรกติ (regular polygon) และเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่าเป็น รูปสามเหลี่ยมปรกติ รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่ยาวด้านละ a\,\! หน่วย จะมีส่วนสูง (altitude) เท่ากับ \fraca หน่วย และมีพื้นที่เท่ากับ \fraca^2 ตารางหน่วย รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสมมาตรมากที่สุด คือมีสมมาตรแบบสะท้อนสามเส้น และสมมาตรแบบหมุนที่อันดับสามรอบศูนย์กลาง กรุปสมมาตรของรูปสามเหลี่ยมนี้จัดว่าเป็นกรุปการหมุนรูปของอันดับหก (dihedral group of order 6) หรือ D3 ทรงสี่หน้าปรกติ สร้างขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสี่รูป รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถพบได้ในโครงสร้างทางเรขาคณิตอื่นๆ หลายอย่าง เช่น รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากันสองวงตัดกัน โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่บนเส้นรอบวงของอีกวงหนึ่ง ทำให้เกิดส่วนโค้งขนาดเท่ากัน และสามารถแสดงได้ด้วยรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างทรงหลายหน้า ทรงตันเพลโตสามในห้าชิ้นประกอบขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า หนึ่งในนั้นคือทรงสี่หน้าปรกติ ซึ่งประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งสี่หน้า นอกจากนั้นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถนำมาเรียงติดต่อกันบนระนาบ จนเกิดเป็นรูปแบนราบสามเหลี่ยม (triangular tiling) การหารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่เกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมใดๆ สามารถหาได้จากทฤษฎีบทสามส่วนของมอร์ลีย์ (Morley's trisector theorem) Triangle Construction Animation.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐอาหรับ

หพันธรัฐอาหรับแห่งอิรักและจอร์แดน (Arab Federation of Iraq and Jordan) หรือ สหพันธรัฐอาหรับ (Arab Federation) เป็นรัฐอายุสั้นซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และสหพันธรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

สีดำ

ีดำ เป็นสีของวัตถุที่ไม่สะท้อนแสงที่สเปกตรัมสะท้อนออกมา วัตถุสีดำจะดูดกลืนทุกสีในสเปกตรัม จึงไม่สะท้อนสีใด ๆ ออกมาเลย หลายคนคิดว่าสีดำคือ "การผสมทุกสีเข้าด้วยกัน" แต่ความเป็นจริงแล้ว สีที่สามารถสะท้อนแสงคืนได้หมดทุกสีคือ สีขาว บางครั้งสีดำบ่งบอกถึงความว่างเปล่า และไม่มีสีสัน แต่สีดำเป็นสีสีหนึ่ง สามารถบ่งบอกคุณลักษณ์ต่างๆ ของวัตถุ เช่น แมวสีดำ หรือภาพศิลป์สีดำ.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และสีดำ · ดูเพิ่มเติม »

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

สีเขียว

ีเขียว เป็นสีสีหนึ่งบนคลื่นที่ตามองเห็น ตั้งอยู่ระหว่างสีน้ำเงินและสีเหลือง สีเขียวเกิดจากแสงที่ความยาวคลื่นประมาณ 495-570 นาโนเมตร สีเขียวในแม่สีเชิงลบที่ใช้สำหรับระบายสีและพิมพ์สีเกิดจากสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงิน หรือสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงินอมเขียว ในระบบสี RGB ที่พบในโทรทัศน์และจอคอมพิวเตอร์ เป็นสีที่มาจากแม่สีเชิงบวก ร่วมกับสีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งต่างก็ผสมกันจนกลายเป็นสีอื่น ๆ ได้ ในภาษาอังกฤษใหม่ คำว่า green (สีเขียว) มาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า grene จากรากศัพท์ภาษาเยอรมันเดียวกันกับคำว่าคำว่า "grass" และ "grow" สีเขียวเป็นสีของการปลูกหญ้าและใบไม้ ด้วยเหตุนี้สีเขียวจึงเป็นสีของฤดูใบไม้ผลิ ความเจริญเติบโต และธรรมชาติEva Heller, Psychologie de la couleur- effets et symboliques.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และสีเขียว · ดูเพิ่มเติม »

องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์

องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Palestine Liberation Organization, ย่อ: PLO; منظمة التحرير الفلسطينية) เป็นองค์การซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2507 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรัฐปาเลสไตน์เอกราช กว่า 100 รัฐรับรององค์การฯ เป็น "ผู้แทนโดยชอบแต่ผู้เดียวของชาวปาเลสไตน์" ซึ่งองค์การฯ มีความสัมพันธ์ทางทูตด้วยMadiha Rashid al Madfai, Jordan, the United States and the Middle East Peace Process, 1974–1991, Cambridge Middle East Library, Cambridge University Press (1993).

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี

รนีกา ฟอร์เก นักแสดงหญิงชาวสเปน โบกธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี มีลักษณะที่ผสมกันระหว่างธงสีพันธมิตรอาหรับกับสัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 และมีการปรับแบบเล็กน้อยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2534 ดินแดนเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีได้ประกาศอ้างสิทธินั้น ส่วนใหญ่อยู่ในความครอบครองของประเทศโมร็อกโก ในเวสเทิร์นสะฮาราจึงสามารถพบธงชาติโมร็อกโกได้ทั่วไป.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิรัก

23x15px สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติอิรัก (อาหรับ: علم العراق) มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง จากความผันผวนทางการเมืองในประเทศ นับตั้งแต่การก่อตั้งประเทศใน พ.ศ. 2464 เป็นต้นมา ธงชาติแบบที่เปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดนี้ ได้ดัดแปลงจากธงชาติอิรัก พ.ศ. 2457-2551 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง-ขาว-ดำ แบ่งตามแนวนอน มีความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน กลางแถบสีขาวมีอักษรคูฟิก เขียนเป็นข้อความภาษาอาหรับว่า "อัลลอหุ อักบัร" แปลว่า พระอัลเลาะห์เจ้าทรงเป็นผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งนี้ เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเอารูปดาวห้าแฉกสีเขียว 3 ดวงออกจากธงเดิมไป ธงดังกล่าวนี้จะใช้เป็นธงชาติอิรักเป็นการชั่วคราว จนกว่าจะมีการรับรองแบบธงชาติใหม่ใน พ.ศ. 2552 ควรรู้ด้วยว่า ด้านคันธงของธงที่มีอักษรอาหรับจารึกอย่างธงนี้อยู่ทางด้านขวา ไม่ใช่ทางด้านซ้ายของผู้สังเกตอย่างธงปกติทั่วไป.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และธงชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจอร์แดน

งชาติจอร์แดน (علم الأردن) เป็นธงที่ดัดแปลงลักษณะมาจากธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ ซึ่งใช้เป็นสัญลักษณ์ในการต่อต้านจักรวรรดิออตโตมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นเป็นแถบสีดำ สีเขียว และสีขาว แบ่งตามแนวนอนของธง ความกว้างเท่ากันทุกแถบ ที่ด้านคันธงนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วสีแดง ภายในรูปนั้นมีดาวเจ็ดแฉกสีขาว 1 ดวง สีของธงนี้ทั้งหมดเป็นสีพันธมิตรอาหรับ ในธงนี้ แถบสีดำหมายถึงแคว้นกาหลิบอับบาซิด (Abbasid Caliphate) แถบสีเขียวหมายถึงแคว้นกาหลิบอูมายยัด (Umayyad Caliphate) แถบสีขาว หมายถึง แคว้นกาหลิบฟาติมิด (Fatimid Caliphate) รูปสามเหลี่ยมสีแดงหมายถึงอาณาจักรฮัชไมต์ (Hashemite) และการปฏิวัติอาหรับ ดาวเจ็ดแฉกสีขาว ซึ่งเป็นสิ่งเดียวที่ทำให้แยกความแตกต่างของธงนี้จากธงชาติปาเลสไตน์ได้ มีความหมายอยู่ 2 นัย นัยหนึ่งหมายถึงบทสวดในซูเราะฮ์ 7 บทแรกในพระคัมภีร์อัลกุรอาน อีกนัยหนึ่งหมายถึงความสามัคคีของชนชาวอาหรับ ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งยังเชื่อกันว่าดาวนี้หมายถึงเนินเขา 7 ลูกซึ่งอยู่ในที่ตั้งของกรุงอัมมาน เมืองหลวงของประเทศ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2460 เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นอาหรับ ต่อมาจึงได้เพิ่มรูปดาวลงในธงเมื่อปี พ.ศ. 2471 เมื่อสหราชอาณาจักรได้มอบเอกราชบางส่วนแก่ประเทศจอร์แดน.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และธงชาติจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติซูดาน

งชาติซูดาน (علم السودان) ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในเป็นแถบธง 3 สี แบ่งตามแนวยาว พื้นสีแดง-ขาว-ดำ อันเป็นสีพันธมิตรอาหรับ ที่ด้านต้นธงนั้นมีรูปสามเหลี่ยมสีเขียว โดยฐานของรูปดังกล่าวติดกับด้านคันธง ธงนี้เริ่มบังคับใช้เป็นธงชาติซูดานเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ในธงนี้ สีแดงหมายถึงลัทธิสังคมนิยม เลือดและการต่อสู้ของชาวซูดาน และความเป็นชาติอาหรับ สีขาวหมายถึงความบริสุทธิ์และการมีมุมมองในเชิงบวก สีดำหมายถึงชาวซูดาน และการปฏิวัติมาห์ดี (Mahdist Revolution) ในปี พ.ศ. 2427 สามเหลี่ยมสีเขียวหมายถึงความวัฒนาถาวร เกษตรกรรม และศาสนาอิสลาม ธงที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับธงชาติซูดาน ได้แก่ ธงชาติลิเบียในช่วงปี..

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และธงชาติซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงการปฏิวัติอาหรับ

23px ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ สัดส่วน: 2:3 ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ เป็นธงที่ถูกกำหนดขึ้นโดยขบวนการชาตินิยมอาหรับ เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ในการต่อต้านการปกครองของจักรวรรดิออตโตมาน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นเป็นแถบสีดำ สีเขียว และสีขาว แบ่งตามแนวนอนของธง ที่ด้านคันธงนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วสีแดง ธงดังกล่าวนี้ถือเป็นต้นแบบของธงชาติของประเทศอาหรับต่างๆ ในเวลาต่อมาด้ว.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และธงการปฏิวัติอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ

งสหภาพ ธงเรือของปาเลสไตน์ในอาณัติ ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ ค.ศ. 1920 จนถึง ค.ศ. 1948 ในทางพฤตินัย ธงชาติสหราชอาณาจักร หรือ ธงสหภาพ สำหรับใช้ในหน่วยราชการอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และธงปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

คอนสแตนติโนเปิล

แผนที่คอนสแตนติโนเปิล คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople, (กรีก: Κωνσταντινούπολις (Konstantinoúpolis) หรือ ἡ Πόλις (hē Pólis), ภาษาละติน: CONSTANTINOPOLIS, ภาษาออตโตมันตุรกี (ทางการ): قسطنطينيه Konstantiniyye) คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง (กรีก: Βασιλεύουσα (Basileúousa)) ของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ. 330 ถึง ค.ศ. 395; ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี ค.ศ. 395 ถึง ค.ศ. 1204 และระหว่างปี ค.ศ. 1261 ถึง ค.ศ. 1453; ของจักรวรรดิละติน ระหว่างปี ค.ศ. 1204 ถึง ค.ศ. 1261); และของจักรวรรดิออตโตมัน ระหว่างปี..

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของปาเลสไตน์

ตราแผ่นดินของปาเลสไตน์ ใช้โดยรัฐปาเลสไตน์ และ องค์การบริหารปาเลสไตน์ (PNA) หรือ องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO).

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และตราแผ่นดินของปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์แดน

ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน (Hashemite Kingdom of Jordan; المملكة الأردنية الهاشمية) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน (Jordan; الأردن Al-Urdunn อัลอุรดุน) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศตะวันตก จอร์แดนเป็นประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล มีชายฝั่งทะเลเดดซีร่วมกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง มีชายฝั่งอ่าวอะกอบาร่วมกับอิสราเอล ซาอุดีอาระเบีย และอียิปต.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และประเทศจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)

ปาเลสไตน์ (فلسطين‎ ฟาลัสติน) (Palestine) เป็นชื่อสามัญของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และ ดินแดนใกล้เคียงต่าง ๆ Carl S. Ehrlich "Philistines" The Oxford Guide to People and Places of the Bible.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และปาเลสไตน์ (ภูมิภาค) · ดูเพิ่มเติม »

โดยพฤตินัย

ตินัย (De facto) หมายความว่า "by fact" หรือตามความเป็นจริง ซึ่งตั้งใจที่จะหมายความว่า "ในทางปฏิบัติหรือตามความเป็นจริง ที่อาจจะมิได้เป็นไปตามกฎหมายที่วางไว้" “โดยพฤตินัย” มักจะใช้คู่กับ “โดยนิตินัย” (de jure) เมื่อกล่าวถึงกฎหมาย, การปกครอง หรือวิธี (เช่นมาตรฐาน) ที่พบในประสบการณ์ที่สร้างหรือวิวัฒนาการขึ้นนอกเหนือไปจากในกรอบของกฎหมาย เมื่อใช้ในกิจการที่เกี่ยวกับกฎหมาย “โดยนิตินัย” จะหมายถึงสิ่งที่กฎหมายกำหนด และ “โดยพฤตินัย” ก็จะหมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง ซึ่งมีความหมายคล้ายคลึงกับวลี "for all intents and purposes" ("สรุปโดยทั่วไปแล้ว") หรือ "in fact" ("ตามความเป็นจริง") ในทางการปกครอง "de facto government" อาจจะหมายถึงรัฐบาลที่มีอำนาจปกครองที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นที่ยอมรับโดยนานาชาติว่าเป็นรัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนั้นก็อาจจะเป็นคำที่ใช้สถานการณ์ที่ไม่มีกฎหรือมาตรฐานแต่มีการปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และโดยพฤตินัย · ดูเพิ่มเติม »

Flags of the World

Ivan Sache, Apprentice-ListmasterRob Raeside, Editorial Director | num_staff.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และFlags of the World · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ธงชาติปาเลสไตน์และ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »