สารบัญ
24 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2560อำเภอบ้านนาสารอำเภอบ้านนาเดิมอำเภอพระแสงอำเภอพุนพินอำเภอกาญจนดิษฐ์อำเภออ่าวลึกอำเภอปลายพระยาอำเภอเกาะสมุยอำเภอเมืองกระบี่อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีอำเภอเคียนซาอ่าวไทยจังหวัดพังงาจังหวัดกระบี่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดนครศรีธรรมราชถนนเพชรเกษมทะเลอันดามันทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41ตำบลพลายวาสเกาะพะงัน
พ.ศ. 2560
ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และพ.ศ. 2560
อำเภอบ้านนาสาร
อำเภอบ้านนาสาร ตั้งอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอบ้านนาสาร
อำเภอบ้านนาเดิม
อำเภอบ้านนาเดิม เป็นอำเภออยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อำเภอบ้านนาเดิมมีการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจสำคัญของจังหวัดสุราษฎร์ธานีและภาคใต้เพื่อรองรับความเจริญของการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก ด้านอ่าวไทย ซึ่งเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ ระหว่างจังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต สงขลา กรุงเทพมหานคร จังหวัดสำคัญและประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากพื้นที่อำเภอใกล้เคียงมีทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิดสมบูรณ์เพียงพอ เป็นปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจอำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานีและภาคใต้ทั้งภายในภายนอกของภูมิภาคได้อย่างเต็มที่และมีศัก.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอบ้านนาเดิม
อำเภอพระแสง
อำเภอพระแสง ตั้งอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอพระแสง
อำเภอพุนพิน
อำเภอพุนพิน ตั้งอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอพุนพิน
อำเภอกาญจนดิษฐ์
อำเภอกาญจนดิษฐ์มีความเป็นมาคือ กาญจนดิษฐ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอกาญจนดิษฐ์
อำเภออ่าวลึก
อำเภออ่าวลึก ตั้งอยู่ในจังหวัดกระบี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภออ่าวลึก
อำเภอปลายพระยา
อำเภอปลายพระยา ตั้งอยู่ในจังหวัดกระบี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอปลายพระยา
อำเภอเกาะสมุย
อำเภอเกาะสมุย เป็นอำเภอที่มีสภาพเป็นหมู่เกาะในอ่าวไทยอยู่ในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี พื้นที่ 1 ใน 3 เป็นที่ราบซึ่งล้อมรอบด้วยภูเขา เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งทางฝั่งทะเลอ่าวไทย อำเภอเกาะสมุยมีพื้นที่ของเกาะต่าง ๆ รวมกันรวมประมาณ 252 ตารางกิโลเมตร เฉพาะตัวเกาะสมุยเองมีพื้นที่ประมาณ 228 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามของประเทศไทยรองจากเกาะภูเก็ตและเกาะช้าง.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอเกาะสมุย
อำเภอเมืองกระบี่
ท่าเรือเกาะพีพีดอน หญ้าผมนาง หาดนพรัตน์ธารา บรรยากาศเงียบสงบยามเช้า ที่ทะเลแหวก หมู่เกาะปอดะ สุสานหอย 40 ล้านปี ท่าเทียบเรือหาดนพรัตน์ธารา ที่ทำการอุทยานเกาะพีพี ผักบุ้งทะเล เกาะพีพีดอน อำเภอเมืองกระบี่ เป็นอำเภอที่ตั้งของตัวจังหวัดกระบี่ และเป็นที่ตั้งของเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางน.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอเมืองกระบี่
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี (ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีเรียกว่า อำเภอบ้านดอน) เป็นอำเภอที่ตั้งของตัวจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นเมืองศูนย์กลางระบบราชการ ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง และเศรษฐกิจของจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
อำเภอเคียนซา
อำเภอเคียนซา ตั้งอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอำเภอเคียนซา
อ่าวไทย
อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และอ่าวไทย
จังหวัดพังงา
ังงา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไท.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และจังหวัดพังงา
จังหวัดกระบี่
กระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น หาดทรายขาว น้ำทะเลใส ปะการัง ถ้ำ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 100 เกาะ และเป็นที่ตั้งของเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางน.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และจังหวัดกระบี่
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จังหวัดนครศรีธรรมราช
นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และจังหวัดนครศรีธรรมราช
ถนนเพชรเกษม
นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และถนนเพชรเกษม
ทะเลอันดามัน
แนวแผ่นดินไหวของเกาะสุมาตรา (2547) ภาพดาวเทียมของทะเลอันดามัน แสดงให้เห็นสาหร่ายสีเขียวและตะกอนจากแม่น้ำอิรวดี ทะเลอันดามัน (Andaman Sea; আন্দামান সাগর; अंडमान सागर) หรือ ทะเลพม่า (မြန်မာပင်လယ်,; มยะหม่าปิ่นแหล่) เป็นทะลที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเบงกอล เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย ทางเหนือของทะเลติดกับปากแม่น้ำอิระวดีในประเทศพม่า ทางตะวันออกเป็นคาบสมุทรประเทศพม่า ประเทศไทย และประเทศมาเลเซีย ทางตะวันตกเป็นหมู่เกาะอันดามัน และหมู่เกาะนิโคบาร์ ภายใต้การปกครองของอินเดีย ทางใต้ติดกับเกาะสุมาตรา ของอินโดนีเซีย และช่องแคบมะละกา ทะเลอันดามันมีความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 1,200 กิโลเมตร กว้าง 645 กิโลเมตร มีพื้นน้ำประมาณ 600,000 ตร.กม.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และทะเลอันดามัน
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009 สายสุราษฎร์ธานี - บรรจบทางหลวงหมายเลข 4 (อ่าวลึก) มีจุดเริ่มต้นแยกจาก สี่แยกแสงเพชร อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตัดขึ้นไปทางใต้ผ่าน อำเภอบ้านนาสาร อำเภอเวียงสระ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี อำเภอปลายพระยา และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 มีความยาวประมาณ 145 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีประมาณ 114 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดกระบี่ประมาณ 31 กิโลเมตร ทางหลวงสายนี้ถูกตัดขาดเมือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44ได้สร้างเสร็จ แต่ในขณะนี้ กำลังมีการก่อสร้างสะพานข้ามทางหลวงหมายเลข 44 อยู่ ซึ่งสร้างเสร็จแล้ว.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 สายแยกโคกเคียน–นครศรีธรรมราช เป็นทางหลวงที่อยู่ในเขตควบคุมของสำนักงานทางหลวงสุราษฎร์ธานี (สำนักงานบำรุงทางพังงา) สำนักทางหลวงที่ 14 นครศรีธรรมราช มีระยะทางเริ่มต้นจากชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ โดยแยกจากถนนเพชรเกษมบริเวณกิโลเมตรที่ 762+481 ที่สามแยกโคกเคียน ใกล้ตัวเมืองอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา จากนั้นตัดไปทางทิศตะวันออกผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานีไปยังชายฝั่งตะวันออก และลงใต้ไปยังจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยสิ้นสุดที่ถนนพัฒนาการคูขวาง.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 สายสี่แยกปฐมพร–พัทลุง เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักของภาคใต้ เส้นทางเริ่มต้นจากแยกปฐมพรบนถนนเพชรเกษม ที่จังหวัดชุมพร จากนั้นวิ่งลงใต้ผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช และสิ้นสุดบนถนนเพชรเกษมที่จังหวัดพัทลุง ระยะทางรวม 382.616 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นถนน 4 ช่องจราจรตลอดสาย แบ่งเป็น 2 ช่องจราจรในแต่ละทิศทาง โดยมีคูน้ำกั้นระหว่างทิศทาง ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 (A18) ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 ตลอ.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41
ตำบลพลายวาส
ตำบลพลายวาส เป็นตำบลในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และตำบลพลายวาส
เกาะพะงัน
กาะพะงัน เป็นเกาะในอ่าวไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศไทย ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอเกาะพะงัน มีชื่อเสียงจากงานฟูลมูนปาร์ตี้ ที่จัดขึ้นที่หาดริ้น และเป็นจุดหมายปลายทางของแบ็กแพ็กเกอร์ ชื่อของเกาะมาจากคำว่า “หลังงัน” เป็นภาษาถิ่นหมายถึงสันทรายที่โผล่พ้นน้ำเมื่อยามน้ำลง เดิมชื่อเกาะไม่มีสระอะ แต่ต่อมาได้เพิ่มสระอะ เป็นพะงัน.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44และเกาะพะงัน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ทางหลวงหมายเลข 44