โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัส

ดัชนี ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัส

รเวอเรนด์ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัส (Thomas Robert Malthus; 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1766 - 23 ธันวาคม ค.ศ. 1834) ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสเป็นนักวิชาการคนสำคัญชาวอังกฤษที่มีอิทธิพลต่อเศรษฐศาสตร์การเมืองและประชากรศาสตร์Petersen, William.

18 ความสัมพันธ์: ชาลส์ ดาร์วินชาวอังกฤษพ.ศ. 2309พ.ศ. 2377สัญญาประชาคมอัลเฟรด รัสเซล วอลเลซฌ็อง-ฌัก รูโซจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ความอดอยากคาร์ล มากซ์ประชากรศาสตร์นักเขียนโรคระบาดเศรษฐศาสตร์การเมืองเศรษฐศาสตร์มหภาคเหมา เจ๋อตง13 กุมภาพันธ์23 ธันวาคม

ชาลส์ ดาร์วิน

ลส์ โรเบิร์ต ดาร์วิน (Charles Robert Darwin FRS; 12 กุมภาพันธ์ 1809 – 19 เมษายน 1882) เป็นนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ผู้ทำการปฏิวัติความเชื่อเดิม ๆ เกี่ยวกับที่มาของสิ่งมีชีวิต และเสนอทฤษฎีซึ่งเป็นทั้งรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่ และหลักการพื้นฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) เขาตีพิมพ์ข้อเสนอของเขาในปี..

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและชาลส์ ดาร์วิน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอังกฤษ

วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและชาวอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2309

ทธศักราช 2309 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและพ.ศ. 2309 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2377

ทธศักราช 2377 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1834.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและพ.ศ. 2377 · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาประชาคม

ัญญาประชาคม (Social contract) ในความหมายที่นำมาใช้ในการเมืองไทยปัจจุบัน หมายถึง ความตกลงร่วมกันของประชาชน กลุ่มผลประโยชน์ร่วมกันหรือกลุ่มคนที่มีแนวความคิดเดียวกัน กับฝ่ายตรงข้าม เพื่อเป็นการแสวงความตกลงและทางออกของปัญหาซึ่งเป็นปัญหาที่มีผลกระทบในวงกว้างซึ่งหากปล่อยไว้อาจจะก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคม ความหมายที่แท้จริงนั้น "สัญญาประชาคม" หมายถึง ทฤษฎีสัญญาประชาคม อันเป็นนัยตามหลักกฎหมายธรรมชาติ มีลักษณะเป็น สำนึกของจริยธรรม ที่ผู้ปกครองควรตระหนักถึง สิทธิบางประการที่ผู้อยู่ใต้ปกครอง (ประชาคม) ได้ยอมสละไป (อาจเรียกได้ว่ายอมอยู่ใต้อำนาจของผู้ปกครอง) เพื่อความปลอดภัยของตนในสิทธิและเสรีภาพที่ยังคงเหลืออยู่ แนวคิดเช่นนี้เองที่เป็นพื้นฐานของการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย โดยตรรกะจากสำนึกจริยธรรมดังกล่าว หากมองในมุมกลับกันก็หมายความว่า อำนาจแท้จริงของผู้ปกครองนั้นมาจากประชาชนนั่นเอง ดังนั้นประชาชนควรจะเป็นผู้ที่ใช้สิทธิของตนเลือกผู้ปกครองขึ้นมา และในการนี้วิธีที่เหมาะสมก็คือการใช้เสียงข้างมากในการตัดสิน สัญญาประชาคม นิยาม สัญญาประชาคม (Social Contract) เป็นการสมรสระหว่างคำสองคำ คือ คำว่า “สัญญา” ซึ่งหมายถึงข้อตกลง กับคำว่า “ประชาคม” ซึ่งหมายถึงชุมชนหรือกลุ่มชนซึ่งอยู่ร่วมกันและมีการติดต่อสัมพันธ์กัน โดยเมื่อรวมกันแล้วจะมีความหมายว่า การทำข้อตกลงกันของประชาชนในสังคมที่อยู่ร่วมกัน โดยส่วนใหญ่แล้วคำว่าสัญญาประชาคมนี้มักจะถูกนำไปใช้ในสองลักษณะ คือ ในความหมายแบบแคบที่หมายถึงตัวทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 และในความหมายแบบกว้างที่หมายถึงพันธสัญญาทางการเมืองระหว่างนักการเมืองกับประชาชน (Kurian, 2011: 1548) ที่มา แนวคิดสัญญาประชาคมเกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 17 เพื่อที่จะอธิบายที่มาของสังคมการเมือง และสร้างความชอบธรรมให้แก่รัฐบาลที่ปกครองอยู่ในขณะนั้น โดยอธิบายถึงที่มาในการจัดตั้งสังคมการเมืองของมวลมนุษยชาติว่าเกิดจากการตกลงร่วมกันของมนุษย์ในสภาวะที่ยังไม่มีรัฐ หรือ สภาวะธรรมชาติ (state of nature) ที่จะยินยอมสละสิทธิบางอย่างให้แก่ผู้ปกครองเพื่อทำหน้าที่ดูแลปกครอง และจัดตั้งสังคมการเมืองขึ้นมา โดยทฤษฎีสัญญาประชาคมนี้จะแตกต่างออกไปจากแนวคิดเรื่องที่มาของรัฐที่มีอยู่เดิมตั้งแต่สมัยกรีกโบราณว่าเป็นเรื่องของธรรมชาติจากการที่มนุษย์โดยธรรมชาติเป็นสัตว์การเมือง (man is by nature a political animal) แต่ในทางกลับกันทฤษฎีสัญญาประชาคมจะอธิบายว่าสังคมการเมืองนั้นเกิดจากการที่มนุษย์ในสภาวะธรรมชาติได้ตกลงร่วมกันในการจัดตั้งสังคมการเมืองและการปกครองขึ้นมาเองในภายหลังต่างหาก (Wolff, 1996: 6-8) ในโลกตะวันตกนั้นแนวคิดทฤษฎีสัญญาประชาคมนับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะเป็นที่มาของแนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน (โปรดดู Sovereignty of the people) เพราะการที่สังคมการเมืองเกิดขึ้นจากการตกลงกันของประชาชนในสังคม ดังนั้นความชอบธรรมของรัฐบาลหรือผู้ปกครองจึงอยู่ที่การได้รับความยินยอม และการยอมรับจากประชาชน แต่ทั้งหลายทั้งปวงแนวคิดเกี่ยวกับการกำเนิดของรัฐและสังคมโดยทฤษฎีสัญญาประชาคมที่ว่านี้เป็นเพียงการตั้งสมมติฐาน (hypothetical) ภายในห้วงความคิดของนักทฤษฎีการเมืองอย่าง โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) จอห์น ล็อก (John Lock) หรือ ฌอง ฌากส์ รุสโซ (Jean-Jacques Rousseau) มากกว่าที่จะเกิดขึ้นจริง กล่าวคือไม่มีใครสามารถล่วงรู้ได้ว่าการตกลงทำสัญญาประชาคมนี้ได้เกิดขึ้นจริงหรือไม่ เมื่อไหร่ อย่างไร เพราะทฤษฎีนี้เพียงแต่ต้องการสร้างชุดคำอธิบายขึ้นมาเพื่อสร้างความชอบธรรมให้การปกครองสมัยใหม่เท่านั้นเอง (Wolff, 1996: 37-39) แต่ทว่าในปัจจุบัน คำว่า สัญญาประชาคม ในโลกตะวันตกได้ถูกนำมาใช้ในความหมายกว้าง ที่หมายถึงการทำข้อตกลงบางอย่างที่เกิดขึ้นเป็นรูปธรรมจริงมากกว่าที่จะเป็นเรื่องของทฤษฎีที่อธิบายการกำเนิดของรัฐเหมือนในศตวรรษที่ 17-18 ดังนั้น สัญญาประชาคมในยุคปัจจุบันนี้จึงหมายถึงข้อตกลงระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ในสังคมในเรื่องหนึ่งๆ เพื่อที่จะหาข้อสรุปที่เป็นฉันทามติร่วมกันระหว่างกลุ่มผลประโยชน์เหล่านั้นในสังคม นอกจากนี้ คำว่าสัญญาประชาคมในความหมายกว้างในปัจจุบันนี้มักนำมาใช้กับการให้คำมั่นสัญญาทางการเมืองระหว่างนักการเมืองกับประชาชนผ่านนโยบายในการหาเสียงเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งไปดำรงตำแหน่งสำคัญต่างๆ เช่น การที่ประธานาธิบดีบารัคโอบามาได้ให้สัญญากับประชาชนสหรัฐอเมริกาต่อนโยบายถอนทหาร และยุติสงครามในต่างแดน ซึ่งภายหลังจากการที่นายโอบามาได้รับการเลือกตั้งให้กลับเข้าไปดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาอีกครั้งหนึ่งนั้น สหรัฐอเมริกาก็ได้แสดงท่าทีในการยุติสงครามในอิรัก และอัฟกานิสถาน โดยเฉพาะนโยบายการถอนทหารสหรัฐอเมริกาออกจากประเทศดังกล่าว และปล่อยให้กองกำลังความมั่นคง (security force) ของประเทศเหล่านั้นดูแลจัดการความสงบเรียบร้อยภายในประเทศเอง ซึ่งนโยบายที่ประสบความสำเร็จเหล่านี้นายโอบามาได้นำมาเป็นหนึ่งในประเด็นหลักที่เขาได้แถลงต่อสภาคองเกรสในต้นปี..

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและสัญญาประชาคม · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ

อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ''' อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ (Alfred Russel Wallace; พ.ศ. 2366 — 2456) นักธรรมชาติวิทยา นักภูมิศาสตร์ นักมานุษยวิทยาและนักชีววิทยาชาวอังกฤษ เกิดที่ อัสค์ มอนมัธไชร์ เวลส์ตะวันออกเฉียงใต้ วอลเลซได้เดินทางเก็บตัวอย่างพืชพรรณแถบแอมะซอนเมื่อ..

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและอัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก รูโซ

็อง-ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญ.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและฌ็อง-ฌัก รูโซ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์

อห์น เมย์นาร์ด เคนส์ บารอนแห่งเคนส์ ที่หนึ่ง (John Maynard Keynes, 1st Baron Keynes; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2426 – 21 เมษายน พ.ศ. 2489) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ เกิดที่ เคมบริดจ์, ประเทศอังกฤษ, สหราชอาณาจักร ผู้เสนอแนวคิดเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics) แนวความคิดทางเศรษศาสตร์ของเคนส์มีอิทธิพลต่อทฤษฎีเศรษศาสตร์มหภาคสมัยใหม่เป็นอย่างมาก รวมไปถึงนโยบายเศรษฐกิจที่รัฐบาลนำมาใช้ในการบริหารเศรษฐกิจของประเทศ เริ่มแรกเคนส์ศึกษาเรื่องสาเหตุของวัฏจักรธุรกิจ (business cycles) และเรียกร้องให้มีการใช้นโยบายทางการคลังและการเงินเพื่อผ่อนคลายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยและตกต่ำ เคนส์ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในบิดาของเศรษฐศาสตร์มหภาคยุคใหม่และนับได้ว่าเป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีอิทธิพลทางความคิดมากที่สุดของศตวรรษที่ยี่สิบ เคนส์ได้ทำงานที่หนังสือ อีโคโนมิคจอร์นัล เป็นที่แรก และได้เขียนหนังสือที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์หลายฉบับ เช่น ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจ้างงาน, ดอกเบี้ย และเงินตรา (The General Theory of Employment, Interest and Money) เขาเป็นผู้ที่สร้างผลงาน ซึ่งพลิกวงการเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก(คือ เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก ในสมัยนั้น) ก็คือ การให้รัฐเข้าไปแทรกแซงและสนับสนุนให้ใช้นโยบายของรัฐ อันได้แก่ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง (Monetary Policy & Fiscal Policy) อันจะกระตุ้นให้เกิด อุปสงค์ที่มีประสิทธิผล (Effective Demand) แทนที่จะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของ กลไกตลาด ที่เป็นแนวความคิดของ อดัม สมิธ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความล้มเหลวได้ ประโยคสำคัญซึ่งท้าทายเศรษฐศาสตร์แบบเดิม คือประโยค "In the long run, we are all dead" (ในระยะยาว พวกเราก็ตายกันหมดแล้ว) ซึ่งสะท้อนเรื่องความไม่สมบูรณ์ของการปรับตัวในระยะยาว เหล่านักเศรษฐศาสตร์ต่างยกให้ จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งหลักของสาขาวิชา เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics).

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ความอดอยาก

วามอดอยาก (Starvation) คือภาวะการลดการบริโภคไวตามิน, สารอาหาร และ พลังงานอย่างต่ำลงอย่างผิดปกติ ความอดอยากเป็นรูปแบบที่รุนแรงที่สุดของทุพโภชนาการ ความอดอยากเป็นระยะเวลานานของมนุษย์อาจจะเป็นสร้างความเสียหายให้แก่อวัยวะภายในร่างกายอย่างเป็นการถาวร และผลสุดท้ายก็จะเสียชีวิต องค์การอนามัยโลกว่า ความหิวเป็นศัตรูสำคัญที่สุดของสาธารณสุขของโลก The Starvelings นอกจากนั้นก็ยังกล่าวว่า ทุพโภชนาการเป็นสาเหตุที่ทำให้เด็กเสียชีวิตมากที่สุด คิดเป็นราวครึ่งหนึ่งของจำนวนการเสียชีวิตทั้งหมด ส่วนองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ กล่าวว่าความอดอยากมีผลต่อประชากรกว่า 1,000 ล้านคนทั่วโลกในขณะนี้.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและความอดอยาก · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและคาร์ล มากซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์

ประชากรศาสตร์ (demography) เป็นการศึกษาทางสถิติของประชากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งมนุษย์ จัดเป็นวิทยาศาสตร์ทั่วไปแขนงหนึ่ง ศาสตร์นี้สามารถใช้วิเคราะห์ประชากรมีชีวิตพลวัตใด ๆ ก็ได้ คือ ประชากรที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาหรือสถานที่ ประชากรศาสตร์ครอบคลุมการศึกษาขนาด โครงสร้าง และการกระจายของประชากรเหล่านี้ และการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นี่หรือเวลาในประชากรเมื่อมีการเกิด การย้ายถิ่น การเปลี่ยนตามวัยและการเสียชีวิต สามารถประมาณการประชากรของโลกได้โดยอาศัยการวิจัยทางประชากรศาสตร์ การวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์สามารถครอบคลุมทั้งสังคมหรือกลุ่มที่ใช้เกณฑ์นิยาม เช่น การศึกษา เชื้อชาติ ศาสนาและชาติพันธุ์ สถาบันการศึกษาปกติมักถือว่าเป็นสาขาหนึ่งของสังคมวิทยา แต่บางที่ก็มีแผนกประชากรศาสตร์แยกออกมาต่างหาก ประชากรศาสตร์รูปนัยจำกัดวัตถุการศึกษาเฉพาะการวัดกระบวนการประชากร ส่วนสาขาประชากรศาสตร์สังคมหรือประชากรศึกษาที่กว้างกว่ายังวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและชีววิทยาที่มีผลต่อประชากรด้ว.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและประชากรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นักเขียน

นักเขียน คือผู้ที่สร้างงานเขียน อย่างไรก็ตามคำนี้มักใช้เฉพาะกับผู้ที่เขียนงานสร้างสรรค์หรือเป็นอาชีพ หรือผู้ที่ได้สร้างงานเขียนในลักษณะอื่น ๆ นักเขียนที่มีความชำนาญจะแสดงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อที่จะนำเสนอแนวคิดและภาพพจน์ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันเทิงคดีหรือสารคดี นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บทกวี ร้อยกรอง ร้อยแก้ว เรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น กวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย นักเขียนบทละคร นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนสารคดี นักเขียนอื่น ๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและนักเขียน · ดูเพิ่มเติม »

โรคระบาด

ในทางวิทยาการระบาด โรคระบาด (epidemic; มาจากรากศัพท์ภาษากรีก epi-.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและโรคระบาด · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์การเมือง

Jean-Jacques Rousseau, ''Discours sur l'oeconomie politique'', 1758 เศรษฐศาสตร์การเมือง (Political economy) มีความหมายกว้างขวางมาก คำจำกัดความจึงเป็นได้หลากหลายทาง ในทางหนึ่ง อาจหมายถึง ความหมายของเศรษฐศาสตร์ที่คิดรวมเอาปัจจัยด้านอื่นเข้าไปรวมด้วย เช่น สังคม วัฒนธรรม ประเพณี พฤติกรรมของคน กฎหมาย การเมือง(ความเกี่ยวข้องกับรัฐ) และพิจารณาถึงปูมหลังของแต่ละทฤษฎีด้วย อีกทั้งเป็นการศึกษาและวิเคราะห์โครงสร้างของระบบ มากกว่า ที่จะพิจารณาแต่ในเชิงคณิตศาสตร์และตรรกะบนการตั้งสมมติฐาน.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและเศรษฐศาสตร์การเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์มหภาค

รษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป็นการศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนรวม เช่น ผลผลิตรวมของประเทศ การจ้างงาน การเงินและการธนาคาร การพัฒนาประเทศ การค้าระหว่างประเทศ อัตราดอกเบี้ย ซึ่งทั้งหมดนั้นเป็นปัญหาที่กว้างขวางกว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาค เพราะว่าไม่ได้กระทบเพียงหน่วยธุรกิจเท่านั้น แต่จะกระทบถึงบุคคล หน่วยการผลิต อุตสาหกรรมทั้งหมด และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ เศรษฐศาสตร์มหภาคนั้นจะมุ่งเน้นที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเบี้องต้น(GNP) และการว่าจ้างงาน จะหาว่าอะไรเป็นสาเหตุให้ผลิตผลรวมและระดับการว่าจ้างงานมีการเคลื่อนไหวขึ้นลง เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาต่างๆได้ตรงจุด เช่น ภาวะเงินเฟ้อเงินฝืด และ ปัญหาการว่างงาน เป็นต้น.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและเศรษฐศาสตร์มหภาค · ดูเพิ่มเติม »

เหมา เจ๋อตง

หมา เจ๋อตง หรือ เหมา เจ๋อตุง (26 ธันวาคม พ.ศ. 2436 — 9 กันยายน พ.ศ. 2519) หรือที่นิยมเรียกอีกอย่างว่า ท่านประธานเหมา เป็นผู้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และทำให้จีนเปลี่ยนระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและเหมา เจ๋อตง · ดูเพิ่มเติม »

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและ13 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

23 ธันวาคม

วันที่ 23 ธันวาคม เป็นวันที่ 357 ของปี (วันที่ 358 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 8 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัสและ23 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

MalthusMalthusianRobert MalthusThomas Malthusมาลธัสทอมัส มาลธัสโรเบิร์ต มาลธัส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »